GPAX
gpax คือ
GPAX คือ เกรดเฉลี่ยสะสม
gpax คือ อะไร
ผลการเรียนเฉลี่ยเกรดของทุกวิชาที่ได้เรียนมาตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (หรือเทียบเท่า) ในปีการศึกษา 2548 (พ.ศ. 2549) จะนำมาใช้ 10% จากองค์ประกอบในการรับทั้งหมด และจะเพิ่มขึ้นในปีต่อ ๆ ไป หรือ GPAX คือเกรดเฉลี่ยสะสมในแต่ละเทอม
gpax คือ กี่เทอม
ถ้าในระเบียบการบอกว่า GPAX 5 เทอม หมายถึง ต้องเอาเกรดเฉลี่ยตั้งแต่ ม.4 เทอม 1 – ม.6 เทอม 1นั่นเอง
คะแนน gpax คือ
คะแนน GPAX หรือผลการเรียนเฉลี่ยสะสม คือการเอาผลการเรียนทุกเทอม ทุกวิชา มารวมกันและทำการหาค่าเฉลี่ย
gpax คือ คะแนน อะไร
ยกตัวอย่าง การกำหนดให้มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) 5 เทอม ไม่ต่ำกว่า 3.00 นั่น
หมายถึงการเอาผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ ม.4 เทอม 1 ถึง ม.6 เทอม 1 มารวมกัน
เพื่อหาค่าเฉลี่ย แล้วต้องได้ตั้งแต่ 3.00 ขึ้นไปถึงจะผ่านเงื่อนไข หรือในกรณีที่กำหนดมาว่าใช้ GPAX ตลอดหลักสูตรก็หมายความว่าต้องใช้ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมทั้ง 6 เทอมนั่นเอง เป็นคะแนนที่ใช้ใน TCAS ไม่ว่าจะเป็นเกณฑ์ขั้นต่ำผ่านคุณสมบัติ หรือ ใช้คำนวณคะแนนในการคัดเลือก
เพื่อง่ายแก่ความเข้าใจและการนำไปใช้งานได้จริง สามารถศึกษาและสามารถคะแนนได้ตามเว็ปไซต์โปรแกรมคำนวณเกรดเฉลี่ยต่อเทอม
https://cal.postjung.com/gpa
gpax 20 คือ
GPAX 20% หมายความว่า การคิดเพียง 20% ที่เหลืออีก 80% เอามาจากคะแนนสอบ
คะแนนเต็ม GPAX 4.0 =20 %
- เกรดเฉลี่ย 6 เทอมเราได้ 3.2 ก็เท่ากับ 3.2 X 20% / 4.0 = 16%
- คะแนนเต็ม 30,000 เราได้ 16% ก็เท่ากับ 4,800 คะแนน
ต้องการ 21,000 คะแนน เพื่อเข้าวิศวะ
ต้องทำคะแนนอีก 21,000 – 4,800 = 16,200 คะแนน จาก O-Net และ GAT-PAT
ตัวอย่าง สรุปรวมคะแนน
นายปลูกปัญญา จะยื่น Admissions เข้า วิศวกรรมศาสตร์ จุฬา
ใช้สัดส่วนคะแนน คือ GPAX 20%, O-NET 30%, GAT 15%, PAT 2 15%, PAT 3 20%
คะแนนของ นายปลูกปัญญา
GPAX 3.80 = 5,700 O-NET (5 วิชา) = 5,670 GAT 250 คะแนน = 3,750
PAT 2 120 คะแนน = 1,800 PAT 3 175 คะแนน = 3,500
รวมคะแนนการยื่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ = 20,420 หรือ 68.06%
(การคิดคะแนนเป็น % ให้เอาจำนวนคะแนนหลักหมื่นที่ได้ หาร 300)
ระบบ gpax คือ
ระบบ GPAX OBEC หมายถึง ระบบการรายงานผลคะแนนการเรียนเฉลี่ยสะสม ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทำขึ้น เพื่อรวบรวมข้อมูลผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า(GPAX) จากสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสังกัดอื่น ๆ ที่มีการจัดการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า เพื่อจัดส่งให้สำนักงานเลขาธิการที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.)เพื่อใช้ในการดำเนินงานการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (TCAS)
gpa gpax คือ
GPA คือ จีพีเอ
หมายถึง เกรดเฉลี่ย
ย่อมาจาก Grade Point Average
หรือที่เรียกว่า ผลการเรียนของแต่ละรายวิชา, ผลการเรียนเฉลี่ย
GPA คือ ผลการเรียนสะสมของผู้เรียนในทุกรายวิชาที่เรียนตลอดหลักสูตรของแต่ละช่วง ชั้นการเรียน ที่นำมาคำนวณหาค่าเฉลี่ย (Mean)
เพื่อแสดงภาพรวมของผลการเรียนตลอดหลักสูตรของผู้เรียนอันเป็นผลผลิตของหลัก สูตรว่าอยู่ในระดับใด ซึ่งจะช่วยสะท้อนให้เห็นระดับความรู้ ความสามารถและความสนใจในการศึกษาในภาพรวมของผู้เรียนแต่ละคน
ดังนั้นการคำนวณหาค่าผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) สามารถคำนวณได้จากการนำผลรวมของผลคูณระหว่างหน่วยการเรียนกับระดับผลการ เรียนที่ได้ในแต่ละรายวิชา แล้วหารด้วยผลรวมของหน่วยการเรียนทุกรายวิชาตลอดหลักสูตร
ยกตัวอย่าง
GPA กลุ่มสาระวิชาภาษาไทย, GPA กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์ หรือ อาจจะไว้เรียกเกรดเฉลี่ยในแต่ละเทอมก็ได้ เช่น เกรด ม.6 เทอม 1 ได้ GPA 3.25 และ ม.6 เทอม 2 ได้ GPA 3.30
GPAX คือ เกรดเฉลี่ยสะสม
อธิบายให้เข้าใจง่ายๆ ผลการเรียนเฉลี่ย gpax คือ การเอาเกรดเฉลี่ยสะสมทุกเทอม ทุกวิชา มารวมกันและทำการเฉลี่ย
ยกตัวอย่าง
ใช้ GPAX 5 เทอม คือ การใช้เกรดเฉลี่ยตั้งแต่ ม.4 เทอม 1 – ม.5 เทอม 1
ถ้ากำหนดมาว่าใช้ GPAX ตลอดหลักสูตร ก็หมายความว่าใช้เกรดทั้ง 6 เทอม
ในระเบียบของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานการรับนิสิตและนักศึกษา การนำ gpa กับ gpax คือ ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ในกลุ่มรายวิชาที่กำหนดให้มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ไม่ต่ำกว่า 3.00 นั้นหมายถึง การเอาเกรดทุกเทอมที่มีของ วิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ มารวมกันหาค่าเฉลี่ย แล้วต้องได้ตั้งแต่ 3.00 ขึ้นไปถึงจะผ่านเกณฑ์ที่กำหนดตามเงื่อนไขการรับสมัครเข้าศึกษา
วิธีการคิดเกรด gpax คือ
- ต้องการคิด GPAX รวมกี่เทอม ให้เอาเกรดและหน่วยกิตของเทอมที่ใช้มาคิดรวมกันทั้งหมด
- นำเกรดที่ได้ในแต่ละวิชา x หน่วยกิต ของวิชานั้นๆ ทำให้ครบทุกวิชา
- บวกผลรวมจากข้อ 2 ทั้งหมด
- นำผลรวมจากข้อ 3 หารด้วย ผลรวมของหน่วยกิตทั้งหมด
สรุปคะแนน GPAX คือ
ยกตัวอย่าง คือ ถ้าในระเบียบการบอกว่า เกรดเฉลี่ย (GPAX) คือ 5 เทอม หมายถึง ต้องเอาเกรดเฉลี่ยตั้งแต่ ม.4 เทอม 1 – ม.6 เทอม 1
หากในระเบียบการบอกว่าเอา GPAX ตลอดหลักสูตร นั่นหมายถึง ต้องใช้ GPAX คือ เกรดกี่เทอม นั้นคือ เกรดทั้งหมด 6 เทอมทั้งหมดนั่นเอง และรวมถึง GPAX แบบกลุ่มรายวิชาด้วย
ยกตัวอย่าง คือ GPAX รายวิชาภาษาอังกฤษ ไม่ต่ำกว่า 2.50 ก็หมายถึง เกรดทุกเทอมในรายวิชาภาษาอังกฤษ นำมารวมกันและหาค่าเฉลี่ยต้องไม่ต่ำกว่า 2.50 ถึงมีสิทธิ์ตามเงื่อนไขของมหาวิทยาลัยและเลือกคณะที่กำหนดในระเบียบได้นี้เอง
คะแนน GPAX เยอะมีผลดี
– สามารถเลือกสมัครได้หลากหลาย เพราะคะแนนผ่านเกณฑ์คุณสมบัติผู้สมัคร
ในการรับสมัครในระบบ TCAS แต่ละรอบ แต่ละมหาวิทยาลัยก็จะมีระเบียบการของแต่ละคณะสาขา และเกือบทุกที่มีการกำหนดใช้คะแนน GPAX และได้มีการกำหนดเกณฑ์ขั้นต่ำเอาไว้ ดังนั้นการที่เรามีคะแนน GPAX ที่ดี จึงเป็นเสมือนใบเบิกทางซึ่งทำให้น้องๆมีโอกาสในการเลือกสมัครได้หลายสาขาวิชา
– มีโอกาสติดหลายรอบ
การมีคะแนน GPAX เยอะจะเพิ่มโอกาสในการสอบติดมากขึ้น เพราะยิ่งมีคะแนนสูงโอกาสก็ยิ่งมาก เพราะในระบบ TCAS ใช้คะแนน GPAX เป็นเกณฑ์คัดเลือกหลายรอบ ถ้าน้องพลาดรอบไหนไป ก็ยังสามารถสมัครรอบต่อไปได้อีก
– มีโอกาสในการสมัครโครงการนักเรียนทุน
การที่มีคะแนน GPAX สูงๆมีโอกาสสมัครเรียนในโครงการทุนของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดได้ ซึ่งโครงการทุนส่วนใหญ่พิจารณาจากคะแนน GPAX ที่เฟ้นหานักเรียนที่เรียนดีมีความสามารถ เกรดเฉลี่ยที่ดีจึงมีผลในการคัดเลือกคนสอบติด
– ช่วยเพิ่มคะแนนใน Admission 2 ให้มากขึ้น
TCAS รอบที่ 3 Admission ในรูปแบบ Admission 2 (รับกลางร่วมกัน) ใช้คะแนน GPAX (6 เทอม) 20% หรือเท่ากับ 6,000 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 30,000 คะแนน) หมายความว่า ถ้าคะแนนส่วนนี้มีเยอะ ก็ใช้เป็นฐานคะแนนสะสมได้เยอะ ยิ่งคะแนนรวมของรูปแบบ Admission 2 มากเท่าไหร่ โอกาสติดก็มีมากขึ้น ฉะนั้น GPAX จึงสำคัญมากในรอบที่ 3 รูปแบบ Admission 2
ดังนั้น gpa และ gpax คือ อะไร
คือ การใช้คะแนน GPAX ในแต่ละรอบ TCAS ระบบที่ใช้ในการคัดเลือกการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ย่อมาจาก Thai University Central Admission System แบ่งการรับออกเป็น 4 รอบ ประกอบไปด้วย
- รอบที่ 1 รอบ Portfolio (รอบใช้แฟ้มสะสมผลงาน)
- รอบที่ 2 รอบ Quota (รอบโควตา)
- รอบที่ 3 รอบ Admission (รอบแอดมิชชั่น)
- รอบที่ 4 รอบ Direct Admission (รอบรับตรงอิสระ)
TCAS แต่ละรอบมีจุดเด่นและรายละเอียดการรับสมัครที่แตกต่างกัน จำเป็นต้องศึกษาข้อมูลแต่ละรอบอย่างละเอียด https://www.dek-d.com/tcas/58455/
รอบที่ 1 – รอบที่ 3 รูปแบบ Admission 1 (รับตรงร่วมกัน)
รอบที่ 1ใช้ Portfolio ไม่ใช้คะแนนสอบ ใช้แค่แฟ้มสะสมผลงาน สมัครโดยตรงกับเว็บมหาวิทยาลัย เหมาะกับผู้ที่มีผลงานโดดเด่น และมีคุณสมบัติถึงตามที่คณะและมหาวิทยาลัยกำหนด เพราะจะต้องมีหลักฐานที่แสดงถึงความสามารถต่างๆ
รอบที่ 2 Quota
มีการใช้คะแนนสอบ สมัครโดยตรงกับเว็บมหาวิทยาลัย เหมาะกับผู้ที่มีความสามารถพิเศษ และอยู่ในพื้นที่ตามที่คณะและมหาวิทยาลัยกำหนด โดยในรอบโควตานี้ จะมีทั้งโควตาพื้นที่ โควตาโรงเรียน โควตาความสามารถพิเศษด้วย
รอบที่ 3 รูปแบบ Admission 2 (รับกลางร่วมกัน)
ยกเลิกเกณฑ์ Admission 2 ที่ใช้คะแนน O-NET เป็นสัดส่วนในการคัดเลือก 30%) แต่มหาวิทยาลัยสามารถออกเกณฑ์หลายรูปแบบได้ภายในรอบนี้ เหมาะกับผู้ที่เน้นฟิตการฝึกทำข้อสอบ เพราะรอบนี้เน้นการใช้คะแนนสอบกลางเป็นหลัก
โดยใช้ gpa เกรดเฉลี่ย 6 เทอม (ม. 4 – ม. 6) ใช้คำนวณคะแนนในการคัดเลือก ค่าน้ำหนักคะแนน 20% หรือเท่ากับ 6,000 คะแนน (คะแนนเต็ม 30,000) ***แนะนำให้ดูตามประกาศ***
รอบที่ 4 Direct Admission
สมัครโดยตรงกับเว็บมหาวิทยาลัย และในปีนี้จะมีเพิ่มขั้นตอนการยืนยันสิทธิ์ในระบบ myTCAS หลังสอบติดด้วย หากสอบติดแล้วไม่เข้าไปยืนยันสิทธิ์ ก็จะถือว่าไม่มีสิทธิ์เข้าศึกษา รอบนี้เหมาะกับผู้ที่อาจจะยังไม่ได้สมัครในรอบก่อนหน้า หรือ พลาดจากรอบก่อนๆ
โดยใช้ gpa เกรดเฉลี่ย 6 เทอม มีทั้งเป็นเกณฑ์ขั้นต่ำผ่านคุณสมบัติ หรือ ใช้คำนวณคะแนนในการคัดเลือก แล้วแต่คณะ/มหาวิทยาลัยกำหนด
อยากสอบติดเข้าเรียนในคณะของมหาวิทยาลัย ต้องได้เกรดเฉลี่ยจะต้องประกอบไปด้วย 2 ตัวสำคัญๆ คือ GPAX และ GPA ในระบบ TCAS ่ต้องการ
- GPAX คือ ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม ทุกภาคการศึกษา คือ การนำเกรดทุกเทอม มาคำนวณรวมกัน เพื่อหาค่าเฉลี่ยตามจำนวนเทอมที่ต้องการ
- GPA คือ ผลการเรียนเฉลี่ยรายวิชา เช่น GPA วิชาวิทยาศาสตร์, GPA วิชาภาษาอังกฤษ เป็นต้น หรือใช้เรียกเกรดรายเทอมว่า GPA เหมือนกัน เช่น GPA ม.4 เทอม 1 เป็นต้น
- TCAS ใช้เกรด 5 เทอม นับตั้งแต่ ม.4 เทอม 1 ถึง ม.6 เทอม 1 แต่ละรอบจะใช้เกรดดังนี้
TCAS รอบ 1 ใช้ GPAX 5 เทอม
TCAS รอบ 2 ใช้ GPAX 5 หรือ 6 เทอม (แล้วแต่โครงการจะกำหนด)
TCAS รอบ 3-5 ใช้ GPAX 6 เทอม
แนวทางการสอบติดในคณะและมหาวิทยาลัยที่ปรารถนา
- ทำเกรดให้ได้สูงที่สุด เนื่องจากการยิ่งได้เกรดสูงมากเท่าไหร่ ยิ่งมีตัวเลือกในการเลือกคณะและมหาวิทยาลัยได้มากขึ้นเท่านั้น เนื่องจากเกรดขั้นต่ำที่ผ่านเกณฑ์ด้วยแล้ว การใช้เกรดที่สูงๆมาคำนวณก็จะยิ่งทำให้ได้คะแนนเยอะตามไปด้วย
- กรณีถ้าเกรดเฉลี่ยไม่ดี และคิดว่ามาสามารถแก้ไขได้ทัน สามารถสมัครสอบแบบรับตรงใน TCAS ที่ไม่ได้ใช้เกรด และไม่มีเกรดขั้นต่ำ บางที่ก็กำหนด GPAX ไว้ไม่ค่อยสูงมากนัก เกรดเฉลี่ยสะสมจะอยู่ที่ GPAX และ GPA 0, 2.50 ขึ้นไป ซึ่งเป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่เน้นการอ่านหนังสือและทำแบบฝึกหัดมากๆ สำหรับลงสู่สนามสอบที่ไม่ใช้เกรด GPA สูงๆในการยื่น ซึ่งต้องหาว่าเกรดที่มี สามารถสมัครสอบที่คณะและมหาวิทยาลัยไหนได้บ้าง
- เกรด GPAX และ GPA สะสมที่ปลอดภัยมากที่สุด สามารถเลือกได้หลากหลายคณะ และหลากหลายสถาบันในรั้วอุดมศึกษา คือเกรด GPAX สะสม 00 ขึ้นไป เนื่องจากเป็นเกรดที่สามารถสมัครได้หลายโครงการ สามารถนำมาคำนวณคะแนน ลองเลือกเทียบเคียงกับการจัดอันดับคณะต้องย้อนหลัง ไปสัก 2-3 ปี เพื่อดูการจัดอันดับคะแนนสูงและต่ำ ที่สามารถคาดคะเนคะแนนตอนทำข้อสอบเพื่อเลือกเข้าเรียนในสาขาวิชาและมหาวิทยาลัยที่ปรารถนาเป็นการเตรียมการไว้แต่เนิ่นๆ
- การอ่านหนังสือ การฝึกทำข้อสอบ การขยันเข้าห้องเรียนในโรงเรียน คือเส้นทางที่สามารถสอบติดเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยได้อย่างไม่ยากนัก และมีนักเรียนจำนวนมากมายที่อ่านหนังสือ ฝึกทำข้อสอบย้อนหลัง การดูวิดีโอแนวข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยในอินเตอร์เน็ต สามารถสอบติดได้เป็นจำนวนเยอะมาก โดยที่ไม่ต้องเสียเงินเพื่อเรียนในสถาบันติวเตอร์ เป็นการช่วยผู้ปกครอง พ่อแม่ ลดภาระค่าใช้จ่าย
- การเตรียมตัวดีมีชัยไปกว่าครึ่ง เพราะการสอบแข่งขันเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยนั้น มีอัตราการแข่งขันที่สูงมากขึ้นในทุกๆปี นักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายทุกคนส่วนมากมีความใฝ่ฝันอยากเรียนในคณะและสถาบันที่ตนเองได้เลือก เนื่องจากมีความถนัดและชื่นชอบในสถาบัน ส่วนหนึ่งอาจมาจากค่านิยมและอยากให้พ่อแม่ ผู้ปกครองดีใจที่ได้เรียนในสถาบันที่มีชื่อเสียง การเลือกเรียนในคณะด้านทางสายวิทย์ – คณิต เกรดเฉลี่ยจะ 00 ขึ้นไป จึงสามารถยื่นเข้าสอบได้ แต่ก็ไม่ใช่ว่าคณะทางด้านสายศิลป์ภาษา สายศิลป์คำนวณ จะไม่สูง ฉะนั้นการเตรียมตัวที่ดีคือสามารถเลือกเส้นทางแห่งความสำเร็จได้อย่างไม่ยากเกินความสามารถ
**** เป็นกำลังใจให้น้องๆ ทุกคน เพราะความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จย่อยอยู่ที่นั้น ****
การลำบาก และใช้ความอดทนในวันนี้ สู่เส้นทางแห่งความปรารถนาในวันข้างหน้า
คำค้น : คือ คือ อะไร คืออะไร คํานวณเกรด คํานวณ คํานวณ โปรแกรมคิด ดูตรงไหน คิดยังไง วิธีคิด คิด โปรแกรมคิดเกรดเฉลี่ยสะสม gpa กับ 6 คือ คำนวณ คํานวณ 5 เทอม โปรแกรมคํานวณเกรด 5 เทอม tcas รอบที่ 4 direct admission ใช้เกรเฉลี่ย กี่ภาคเรียน 6 เทอม ดูตรงไหน gpa กับ ต่างกันยังไง 20 เปอร์เซ็น คือ สําคัญอย่างไร คะแนน คือ โปรแกรมคํานวณ หา คํานวณ 4 เทอม gpa กับ เหมือนกันไหม การคิด คิด มหาลัย วิธีคํานวณ วิธีหา คะแนน 6 ภาคเรียน นักเรียนสามารถนำไปสมัครรอบใดได้ วิธี คิด คะแนน คำนวน คิด 5 เทอม โปรแกรม คิดเกรดเฉลี่ยสะสม ดู 20 เปอร์เซ็น เว็บคํานวณ ย่อมาจาก 20 คือ gpa คือ คิด 6 เทอม 6 เทอม วิธีคิด 5 เทอม 10 คิดยังไง รอบ3 ใช้กี่เทอม 64 คือ คะแนน อะไร
แหล่งอ้างอิง :
https://gpax.obec.go.th/
https://gpax.obec.go.th/assets/uploads/manual/0a805-gpax-obec.pdf
https://www.camphub.in.th/uptcas-ep10-tcas64-gpa-gpax/
https://pantip.com/topic/36359160
https://cal.postjung.com/gpa
https://www.dek-d.com/tcas/58455/
อ่านบทความทั้งหมด >>> pangpond.com
บทความแนะนำ หมวดหมู่: วัยรุ่น
จำนวนคอมเมนต์ของโพสต์ ID 170794: 518