การใช้แผนที่เป็นประโยชน์ในการสืบค้นข้อมูลทางภูมิศาสตร์ 6 การใช้?
ประโยชน์ของแผนที่5ข้อ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ประโยชน์ แผนที่ ประโยชน์ของแผนที่ประเทศไทย แผนที่ ใช้ทําอะไร องค์ประกอบของแผนที่ วิธีการใช้แผนที่ วัตถุ
ลักษณะของ “การบริการที่ดี” |
1.การให้ความสนใจ คือ การต้อนรับอย่างอบอุ่น การให้เกียรติประชาชน ประชาชนมีความสําคัญ และฟังประชาชนพูดและสบนัยน์ตาด้วย |
2.การให้ความใส่ใจ คือ การเอาใจใส่ในการให้บริการอย่างเท่าเทียม ไม่แสดงออกอย่างเหนื่อยหน่ายเย็นชา และติดตามเรื่องของประชาชนจนสําเร็จ |
3.การบริการอย่างตั้งใจ คือ การมั่นใจในความถูกต้องสมบูรณ์ การจัดบริการให้ตรงเวลา และบริการให้ประชาชนรู้สึกคุ้มค่า |
4.การบริการอย่างเต็มใจ คือ การสร้างความเชื่อมั่นแก่ประชาชนว่าจะเป็นบริการที่ได้รับประโยชน์สูงสุด และต้องให้ความร่วมมือในการตอบสนองความต้องการ |
5.การบริการอย่างจริงใจ คือ การแสดงออกถึงบริการที่น่าเชื่อถือ เชื่อใจได้ มีความรับผิดชอบในงานบริการ และให้บริการอย่างซื่อตรงและเป็นธรรม |
6.การบริการอย่างเข้าใจ คือ มีความรู้ในการให้บริการอย่างแท้จริง มุ่งถึงบริการที่มีคุณภาพสูง และต้องให้บริการอย่างถูกต้อง |
7.การบริการอย่างรู้ใจ คือ ต้องสนองความต้องการของประชาชนได้ถูกต้อง และดําเนินการอย่างรวดเร็ว |
8.การบริการอย่างมีน้้าใจ คือ การให้ความช่วยเหลืออย่างเอื้ออาทร ให้ประชาชนได้รับ คําแนะนําอย่างถูกต้องเพื่อประกันไม่ให้เกิดความยุ่งยากเสียหายและให้ประชาชนได้รับประโยชน์ทั้งด้าน คุณภาพและปริมาณอย่างครบถ้วน |
1. มีความรักในงานบริการ
2. มีความรับผิดชอบในหน้าที่
3. มีความซื่อสัตย์ ซื่อตรงต่องาน
4. มีความสามารถควบคุมตนเองได้
5. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
6. มีความมานะพยายามจะท าแต่สิ่งที่ดีมีคุณประโยชน์
7. มีจิตใจมั่นคงไม่รวนเร
8. มีความมุ่งมั่น เรียนรู้สิ่งใหม่ที่ให้ประโยชน์ต่อผู้อื่น
การให้บริการที่ดี หรือคําว่า “Service Mind” นั้น คือ การที่จะทําให้คนมีใจรักในการให้บริการต้องนําเอาคําว่า “Service” และ “Mind” แยกความหมายออกเป็นตัวอักษรได้ดังนี้
S | Smile | มีรอยยิ้ม |
E | Enthusiasm | มีความกระตือรือร้น เอาใจใส่ผู้รับบริการ |
R | Rapidness | มีความรวดเร็ว กระฉับกระแฉง |
V | Value | ให้บริการอย่างมีคุณค่า |
I | Impression | มีความน่าประทับใจ |
C | Courtesy | บริการอย่างสุภาพอ่อนโยน |
E | Endurance | มีความอดทนและเก็บอารมณ์ |
M | Make Believe | มีความเชื่อในการให้บริการของตนเอง |
I | Insist | ยืนยันที่จะให้บริการผู้รับบริการ |
N | Necessitate | การให้ความสําคัญต่อลูกค้าและการบริการ |
D | Devote | อุทิศตนเพื่อการบริการ |
คําว่า Service Mind นั้น ได้มีการพูดกันมานาน หากจะพิจารณาตามตัวอักษรรวมแล้ว คําว่า “Service” หมายถึง การบริการ คําว่า “Mind” หมายถึง จิตใจ รวมคําแล้วแปลว่า “มีจิตใจในการให้บริการ” ซึ่งพอสรุปได้ว่าหมายถึง การบริการที่ดี
การให้บริการที่ดี
ผู้ให้บริการต้องมีจิตใจในการให้บริการ คือ ต้องมีจิตใจหรือมีใจรัก มีความเต็มใจในการ
บริการ การทํางานโดยมีใจรักจะแสดงออกมาทางกาย โดยการทํางานด้วยความยิ้มแย้ม แจ่มใส มี
ความกระตือรือร้น และสามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ โดยให้นึกถึงการบริการที่ดีแก่ลูกค้าหรือผู้มาใช้บริการไว้เป็นหลัก การทําให้ผู้ใช้บริการได้รับความพึงพอใจ มีความสุข และได้รับผลประโยชน์อย่างเต็มที่คือการสร้างสุขในการให้บริการ
การสร้างความประทับใจในงานบริการ
ความคาดหวังโดยทั่วไปของผู้รับบริการก็ได้แก่ การต้อนรับที่อบอุ่น ให้ความสนใจและ
กระตือรือร้นที่จะให้บริการ เอาใจใส่ พูดจาสุภาพไพเราะ ซึ่งจะทําให้ผู้รับบริการรู้สึกว่าเขามี
ความสําคัญ เป็นผลให้เขาเกิดความพอใจ ในการรับบริการ และที่สําคัญต้องรู้จักเอาใจเขามาใส่ใจ
เรา และให้บริการตางตามความต้องการของผู้รับบริการ
ความมีอัธยาศัยไมตรี เป็นสิ่งสําคัญยิ่งในการให้บริการ เพราะความมีอัธยาศัยไมตรีจะทําให้
ผู้รับบริการรู้สึกอบอุ่นและประทับใจ ผู้รับบริการทุกคนที่มาใช้บริการของเราเขาต้องการให้เรา
แสดงออกดังต่อไปนี้
1. ร้านนวดสปา บริการนวด
2. บริการทำความสะอาดบ้าน
3. บริการรับจ้างเลี้ยงเด็ก
4. ร้านเสริมสวย ทำเล็บ ทำผม
5. รับจ้างทำสวน/ตัดหญ้า
6. บริการรับฝากบ้าน/เฝ้าบ้าน
7. บริการซัก – รีด
8. บริการหิ้วของ
9. สอนพิเศษ
10. บริการหลังการขาย
11. บริการแต่งหน้า
12. บริการทัวร์
13. ส่งอาหาร
14. บริการรับฝากรถ
15. รถรับส่ง
16. เด็กเสิร์ฟ
17. บริการขนของ/ย้ายบ้าน
18. แจกใบปลิว
ความหมายกว้างๆ ของคําว่า “การบริการ” ก็คือ การกระทําหรือดําเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคลหรือองค์กร
ให้ได้รับความพึงพอใจสมความมุ่งหมายที่บุคคลหรือองค์กรนั้นต้องการ เนื่องจากผลสําเร็จของการบริการขึ้นอยู่กับ “ความพึงพอใจ” ซึ่งเป็นเรื่องของ “ความรู้สึก” ไม่มีหน่วยวัด นิยามของคําว่าบริการจึงขึ้นอยู่กับการพยายามอธิบายเพื่อให้เข้าใจตรงกัน
1. ความสำคัญต่อผู้รับบริการ
1.1 ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา จิตใจ ศึกษาเปรียบเทียบมาตรฐาน คุณภาพการบริการที่ตรงกับอัตภาพของแต่ละบุคคล
1.2 เสริมสร้างคุณภาพชีวิต การที่ผู้ได้รับบริการได้รับบริการที่ตรงกับความต้องการรู้สึกสะดวกสบายนำมาซึ่งความประทับใจและมีความสุข
2. ความสำคัญต่อผู้ให้บริการ
2.1 ผู้ประกอบการหรือผู้บริหารการบริการ การที่ผู้ประกอบการปรับกลยุทธ์เพื่อเพิ่มผลกำไรระยะยาวให้กับธุรกิจ ช่วยสร้างภาพลักษณ์ที่ดี
2.2 ผู้ปฏิบัติงานบริการที่อุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีความสำคัญที่ทำรายได้ให้ประเทศ พนักงานแต่ละคนที่จะฝึกฝนและพัฒนาตนเอง