SME
ธุรกิจ sme
ธุรกิจ sme คือ
SME ย่อมาจากคำว่า Small and Medium Enterprises หรือที่เรียกว่า วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เป็นธุรกิจที่ทำการดำเนินกิจกรรมทางด้านการผลิต จำหน่าย ขนาดย่อม โดยธุรกิจ SME เป็นธุรกิจที่มีความเป็นอิสระไม่อยู่ใต้การควบคุมของธุรกิจหรือบุคคลอื่นบุคคลใดหรือลูกจ้างตัดสินใจลาออกเองจะถือว่าได้รับความยินยอมทั้งสองฝ่าย หากหน่วยงานหรือบริษัทองค์กรเลิกจ้างพนักงานหรือลูกจ้างนั้นหมายถึงพนักงานหรือลูกจ้างอาจจะยินยอมหรือไม่ยินยอมก็ได้เช่นกัน
SME ธุรกิจที่ครอบคลุมกิจการทั้ง 3 กลุ่มใหญ่ ได้แก่
การผลิต – ครอบคลุมการเกษตร,อุตสาหกรรม และเหมืองแร่
การค้า – ครอบคลุมการค้าส่ง และค้าปลีก
การบริการ – การขายอาหารและเครื่องดื่ม ของภัตตาคารและร้านอาหาร การให้บริการเช่าสิ่งบันเทิงและพักผ่อนหย่อนใจ
SME
การแบ่งขนาดธุรกิจ เล็ก กลาง ใหญ่
เกณฑ์ ในการกำหนดขนาดของ ธุรกิจ
จำนวนจ้างพนักงาน
จำนวนสินทรัพย์ถาวรของธุรกิจ
ธุรกิจขนาดย่อมมีอะไรบ้าง
ธุรกิจอาหาร – เนื่องจากอาหารเป็นปัจจัยที่สำคัญของมนุษย์ ดังนี้นการทำธุรกิจขายอาหารนั้นจะทำให้คุณสามารถหารายได้ไดตลอด และถ้าหากขายดียิ่งขึ้น ก็จำเป็นที่จะต้องสร้างจุดเด่น และวางแผนธุรกิจให้ดีเพื่อต้อสู้กับคู่แข่งรายอื่นๆ
ธุรกิจขายของออนไลน์ – การทำธุรกิจขายของออนไลน์ สามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลา และสามารถเลือกสินค้าได้หลากหลายมานำเสนอให้แก่ลูกค้าได้เลือกซื้อ ดังนั้นธุรกิจประเภทนี้จึงถือเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่น่าลงทุนเป็นอย่างยิ่ง
ธุรกิจ คือ
ธุรกิจ หมายถึง กิจการหรือ องค์การที่ก่อให้เกิดสินค้า หรือ บริการ เป็นกระบวนการที่นำเอาทรัพยากรธรรมชาติมาเปลี่ยนสภาพด้วยกรรมวิธีทางการผลิตด้วยแรงงานของคนและเครื่องจักร เผื่อให้ได้สินค้าที่ผู้บริโภคต้องการ กิจกรรมของธุรกิจนั้นรวมทั้งการผลิต การซื้อ ขาย จำแนกแจกจ่ายสินค้า การขนส่ง การธนาคาร การประกันภัย เป็นต้น
ลักษณะของธุรกิจ
ลักษณะของการดำเนินธุรกิจนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทดังนี้
กิจการเจ้าของคนเดียว คือกิจการที่มีบุคคลคนเดียวเป็นเจ้าของหรือลงทุนคนเดียว ควบคุมการดำเนินงานเองทั้งหมดคนเดียว ตัวอย่างกิจการประเภทนี้ เช่น ร้านค้าปลีก ร้านค้าส่ง ร้านเสริมสวย
กิจการห้างหุ้นส่วน คือ กิจการที่มีบุคคลั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมกันลงทุนและดำเนินกิจการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งผลกำไรที่ได้จากการดำเนินงาน ซึ่งธุรกิจประเภทนี้สืบต่อมาจากธุรกิจเจ้าของคนเดียว
บริษัทจำกัด คือ บริษัทประเภทซึ่งตั้งขึ้นด้วยการแบ่งทุนเป็นหุ้นมีมูลค่าหุ้นเท่าๆกัน โดยผู้ถือหุ้นต่างรับผิดจำกัดเพียงไม่เกินจำนวนเงินที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าหุ้นที่ตนถือ
บริษัทมหาชนจำกัด สหกรณ์ คือธุรกิจรูปแบบหนึ่งที่จัดตั้งและดำเนินการโดยกลุ่มบุคคลที่มีความประสงค์อย่างเดียวกันร่วมกันจัดตั้ง ลงทุน ดำเนินการและเป็นเจ้าของร่วมกันด้วยความสมัครใจ
ธุรกิจการผลิต
การผลิต (Production) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงหรือรูปแบบปัจจัยการผลิตให้เป็นการผลิต ได้แก่ สินค้าและบริการต่างๆ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า การผลิตเป็นสิ่งที่สำคัญที่ก่อให้เกิดการใช้ปัจจัยการผลิตและก่อให้เกิดสินค้าและบริการต่างๆ ขึ้นในระบบเศรษฐกิจ หน่วยเศรษฐกิจที่ทำหน้าที่ในการผลิตก็คือ ผู้ผลิตหรือหน่วยธุรกิจ ซึ่งมีอยู่หลานประเภท ได้แก่
1ผู้ผลิตที่เป็นเจ้าของคนเดียว เช่นเกษตรกร พ่อค้าแม่ค้า
2.ห้างหุ้นส่วนจำกัด และบริษัท ผู้ผลิตเหล่านี้พยายามหาวิธีการผลิตให้เกิดผลผลิตมากที่สุดเท่า ที่จะทำได้ หรือพยายามทำการผลิตให้เสียต้นทุนต่ำที่สุด เพื่อได้กำไรมากที่สุด
ธุรกิจค้าส่งมีอะไรบ้าง
ธุรกิจค้าส่ง คือ ธุรกิจที่ดำเนินกิจการที่เกี่ยวข้องกับการจำหน่ายสินค้าและบริการให้แก่ผู้ที่ซื้อ ที่มีวัตถุประสงค์ในการซื้อเพื่อนำไปขายต่อให้แก่ผู้บริโภครายย่อย หรือเรียกว่าค้าปลีก
ประเภทของธุรกิจค้าส่ง
ร้านค้าส่ง (Merchant Wholesalers) ธุรกิจค้าส่งที่ครอบครองกรรมสิทธิ์ในสินค้าแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1.ให้บริการเต็มรูปแบบ
2.จำกัดการให้บริการ
ร้านค้าส่งเต็มรูปแบบ (Full Service Wholesalers) ให้บริการครบถ้วนตั้งแต่เก็บรักษาสินค้า พนักงานขาย ให้สินเชื่อ จัดส่ง และให้ความช่วยเหลือด้านการจัดการ ร้านค้าส่งประเภทนี้มีทั้งประเภทขายสินค้าให้กับร้านค้าปลีกโดยให้บริการเต็มรูปแบบและ ขายสินค้าอุตสาหกรรมให้กับโรงงานผลิต
ร้านค้าส่งจำกัดบริการ (Limited-Servive Wholesalers) เช่น ร้านค้าส่งประเภท ขายสินค้าเป็นเงินสดให้กับร้านค้าปลีก ขายและจัดส่งสินค้าเฉพาะสายผลิตภัณฑ์ให้แก่ร้านค้าปลีก และผู้ประกอบการส่งแคตาล็อกไปยังร้านค้าปลีกและผู้ประกอบการต่าง ๆ
นายหน้าและตัวแทน (Broker and Agents) ไม่ครอบครองกรรมสิทธิ์ในสินค้า แต่จะเป็นคนกลางทำหน้าที่ติดต่อให้มีการซื้อขายโดยได้รับค่านายหน้าเป็นผลตอบแทน
งานบริการมีอะไรบ้าง
การกระทำกิจกรรมใดๆ ที่เกิดขึ้นจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้ผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจการบริการ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาพฤติกรรมของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคลอื่น ซึ่งเกี่ยวข้องกับการอำนวยความสะดวก สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการได้
ประเภทของตลาดในระบบเศรษฐกิจ แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
ตลาดแข่งขัน สมบูรณ์
ตลาดแข่งขัน ไม่สมบูรณ์
ตลาดการผูกขาดในโครงสร้างตลาดแบบผูกขาดนั้น จะมีผู้ขายเพียงรายเดียวดังนั้น คือบริษัทเดียวจะควบคุมตลาดสินค้ากลุ่มเดียวกันทั้งหมด พวกเขาสามารถกำหนดราคาเท่าใดก็ได้ตามที่ต้องการ เนื่องจากมีอำนาจเหนือตลาด
ตลาดผู้ขายน้อยราย
ในตลาดผู้ขายน้อยรายจะมีเพียงไม่กี่บริษัทในตลาด ในขณะที่ไม่มีความชัดเจนเกี่ยวกับจำนวนของบริษัท แต่ส่วนใหญ่จะมีไม่ต่ำกว่า 3 – 5 แห่ง ดังนั้นในกรณีนี้อำนาจของผู้ขายจะมีมากกว่าผู้ซื้อ เพราะผู้บริโภคมีตัวเลือกไม่มากนัก
2ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
มีลักษณะคือ มีจำนวนผู้ขายมาก ปราศจากสิ่งกีดขวางผู้ผลิตรายใหม่ที่จะเข้ามาทำการผลิต, ไม่มีการรวมตัวกันของผู้ซื้อหรือผู้ขาย และสินค้าของผู้ผลิตแต่ละคนแตกต่างกัน ความแตกต่างนี้อาจเป็นได้ทั้งด้านรูปร่าง คุณภาพ หรือความรู้สึกของผู้บริโภค จากลักษณะเหล่านี้ทำให้ผู้ผลิตแต่ละรายในตลาดมีอำนาจผูกขาดในสินค้าของตน
บทความแนะนำ หมวดหมู่: เศรษฐกิจ
จำนวนคอมเมนต์ของโพสต์ ID 156010: 1688