คําราชาศัพท์หมวดร่างกาย ป.5 BODY คำพร้อมรูปเน้นจำง่าย 50 คํา?
คําราชาศัพท์หมวดร่างกาย คําราชาศัพท์คืออะไร ความเป็นมาของคำราชาศัพท์ คําราชาศัพท์หมวดร่างกาย 50 คำ ตา คําราชาศัพท์ หมูทอดกระเทียม ส่วนผสมหมู
ความหมายของคําวิเศษณ์ คำที่บ่งชี้ลักษณะของสิ่งต่าง ๆ เช่น สี กลิ่น รส ขนาด รูปทรง นอกจากนี้ยังบ่งชี้ ปริมาณ สถานที่ จำนวน คำวิเศษณ์จะทำหน้าที่ประกอบคำนาม, คำสรรพนาม, คำกริยา และคำวิเศษณ์ด้วยกันให้ได้ความชัดเจนยิ่งขึ้น
ชนิดของคําวิเศษณ์ แบ่งออกเป็น 10 ชนิด
– น้ำเย็นอยู่ในกระติกสีดำ
– ชามใบเล็กราคาแพงกว่าจานใบใหญ่
– พรุ่งนี้เป็นวันเกิดของคุณแม่
– คนโบราณ ไม่ชอบทำงานเวลา กลางคืน
– คนดีเดี๋ยวนี้ไม่เหมือนกับคนดีแต่ก่อน
– บ้านฉันอยู่ไกลตลาด
– จากทิศเหนือเขาล่องเรือไปทิศ ใต้
คำวิเศษณ์ชนิดนี้ ถ้ามีคำถามหรือสรรพนามมารับข้างหลัง นับว่าเป็นคำบุพบท เช่น
– พระพุธรูปประดิษฐานอยู่บนหิ้ง
– ปากกาวางอยู่เหนือหัว
4.1 ) บอกจำนวนนับ ใช้เป็นตัวเลข หรือตัวหนังสือได้ เช่น หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า ที่หนึ่ง ที่สอง
– เรามีเงินเก้าบาท
4.2 ) บอกจำนวนปริมาณ ไม่ได้บอกชัดว่าเท่านั้นเท่านี้ เป็นแต่กำหนดว่ามากหรือน้อย พอจะรู้ความหมายของปริมาณ เช่น มาก น้อย ทั้งหลาย ทั้งหมด ต่าง บาง
– มาหาฉันบ่อยๆนะ
– เขาไม่ได้มาคนเดียว
– ความประพฤติเช่นนั้นมิใช่เป็นการที่ควรกระทำ
– พี่ครับมีคนมาหาขอรับ
– สวัสดีค่ะคุณแม่
– บ้านนั้นใครอาศัยอยู่
– เขาเป็นคนไม่ขยันแน่ๆ
– เธอจะมาเวลาใด
– เรานั่งเก้าอื้ตัวไหนก็ได้
– กางเกงราคาเท่าใด
– เขาจะไปที่ไหน
– เขาทำงานหนักเพื่อมีเงินเก็บมากๆ
– การทำความดีอันหาที่สุดไม่ได้
หน้าที่ชนิดของคำไทยวิเศษณ์
ในประโยคของคำวิเศษณ์จะใช้เพิ่มความหมายชนิดของคำในภาษาไทยคำที่เพิ่มความหมายในประโยคภาษาไทย กล่าวได้ว่าเป็นชนิดและหน้าที่ของคำเป็นส่วนขยาย
– ตำรวจหลายคนจับโจรผู้ร้าย
– ฉันเองเป็นคนพูด
– นักกีฬาวิ่งเก่ง
– ฝนตกแรงมาก
– ขนมนี้อร่อยดี
คำคืออะไร
คำ คือ หน่วยทางภาษา สำหรับสื่อความหมาย ประกอบด้วยตัวอักษร พยางค์หนึ่ง พยางค์มากกว่าหนึ่งพยางค์ขึ้นไป ซึ่งในแต่ละคำจะมีรากศัพท์ของคำทำให้ผู้ฟังและผู้อ่าน เข้าใจในความหมาย เข้าใจในที่มาของคำ แต่ละคำที่มาประกอบหรือผสมกัน ส่งผลให้เกิดเป็นวลีเป็นประโยค สำหรับใช้ในการสื่อความหมายให้เกิดความชัดเจนและละเอียดอ่อนทางถ้อยคำ ทางวลีมากยิ่งขึ้น
Preposition คำบุพบท คือ ทำหน้าที่ของคำเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างคำ ข้อความ ประโยค เชื่อมคำนามกับคำนาม แสดงความสัมพันธ์ของคำนามเพื่อให้เกิดเป็นความต่อเนื่อง ช่วยให้ข้อความและประโยคมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ประเภทของคำบุพบท แบ่งได้เป็น 4 ชนิด คือ
คำบุพบทที่มักใช้เป็นคำขยายกันมาก เช่น แด่ แก่ ตั้งแต่ กับ บน ล่าง เหนือ ใต้ ข้าง ริม ไกล ใกล้ ถึง จาก สำหรับ เฉพาะ ของ ด้วย เพื่อ จน ตั้งแต่ ต่อ ประมาณ
คำบุพบทบางคำเป็นได้ทั้งคำบุพบท คำวิเศษณ์ และบางครั้งอาจเป็นคำกริยาภาษาไทย จะสังเกตเห็นจากการใช้คำที่ต่างกัน คือคำบุพบทต้องนำหน้าคำที่อยู่ข้างหลัง จะใช้ตามลำพังไม่ได้ แต่คำวิเศษเป็น คำคุณศัพท์ภาษาไทย Adjective ต้องใช้ประกอบคำที่อยู่ข้างหน้า
ตัวอย่างคำวิเศษณ์ในภาษาไทย
เขายืนอยู่เวลานี้ ส่วนคุณยืนอยู่ข้างนอก (คำวิเศษณ์บอกเวลา)
บ้านเขาอยู่ริมคลอง
คำไทยมี 7 คำ
มีลักษณะเป็นชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค ประกอบด้วย
รู้จัก!! คำกริยาภาษาไทย
หน้าที่ของคำกริยา
จากการจำแนกคำในภาษาไทย ทำให้เข้าว่า คำหมายของคำกริยา ทำหน้าที่เป็นตัวแสดงในภาคแสดงของประโยค ตัวอย่างคำ ขนมวางอยู่บนโต๊ะ
คำต่างๆในภาษาไทย เป็น ลักษณะของคำ ที่บ่งบอกประเภท อธิบายคำและชนิดของคำ การกำหนดเอาไว้อย่างชัดเจน เป็นเอกลักษณ์ทางภาษาของคนไทย ที่มีวัฒนธรรม มีภาษาเป็นของตนเอง ตั้งแต่สมัยสุโชทัย จาก ศิลาจารึก “ลายสือไทย” ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ในการทรงประดิษฐ์อักษรไทย ชนิดคำไทยแท้แต่โบราณ สืบทอดมาจนถึงสมัยอยุธยา ตรงกับในรัชสมัยครองราชย์ของ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช จากหนังสือเล่มแรกของสยามโดยท่านพระโหราธิบดี คือ “หนังสือจินดามณี” กำหนดตัวอักษร รายงานชนิดของคำ และใช้กันมาจนถึงในยุคปัจจุปันนี้ แม้ว่าจะมีการดัดแปลง เพิ่มเติมแต่ก็ยังคงไว้ซึ่งความเป็นอักษรไทย เป็นเอกลักษณ์เด่นเฉพาะประเทศไทยเท่านั้น หาที่ใดในโลกเสมอเหมือนไม่ได้
นับเป็นความภาคภูมิใจของคนไทย ที่มีภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติ และกำหนดให้ทุกๆ วันที่ 29 กรกฏาคมของทุกปี เป็น “วันภาษาไทยแห่งชาติ” เพื่อเป็นการระลึกถึงความสำคัญของภาษาไทย จึงเป็นความโชคดีที่คนไทยมีภาษาไทยเป็นของตนเองมาตั้งแต่ในโบราณกาล เป็นภาษาที่มีความสละสลวย งดงามในการฟังและการอ่านยิ่งนัก โดยเฉพาะเมื่อนำมาแต่งร้อยเรียงเป็น ถ้อยคำ เป็น กาพย์ กลอน โคลง ละครต่างๆ สามารถใช้เป็นคติทางความเชื่อ คำสอนใจ สร้างความบันเทิง ตลอดจนเพื่อการสื่อสารกัน ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้ให้คงอยู่เคียงคู่กับคนไทยตลอดไปและดำรงคงไว้ให้ลูกหลานของชาวไทยให้เกิดความยั่งยืนคงอยู่ไว้สืบนานเท่านาน
แหล่งอ้างอิง :
kr.ac.th/el/02/surang/04.html
nectec.or.th/schoolnet/library/webcontest2003/100team/dlnes055/Index4.html
esarntech.ac.th/system/images/working/zStartUpd/about7.html