อักษรนำ ห ง เป็นสูงว่า ญ มีคําอะไร ตัวหน้ามีอิทธพลนำจบ 2 ตัว
อักษรนํา อักษรนำ ตัวอย่าง ห นำ ง มีคําอะไรบ้าง ห นำ ญ มีคําอะไรบ้าง ห นำ น มีคําอะไรบ้าง ห นำ ม มีคําอะไรบ้าง ห นำ ย มีคําอะไรบ้าง ห นำ ร มีคําอะไรบ้าง
ธงชาติไทยมีมาตั้งแต่เมื่อใดไม่ปรากฏแน่ชัด เชื่อกันว่าน่าจะเกิดขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เพราะปรากฏเรื่องราวอยู่ในหนังสือจดหมายเหตุของฝรั่งเศส โดยได้กล่าวไว้ว่าเมื่อวันที่ ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๒๒๓
เรือรบของฝรั่งเศส ได้น้าเรือเข้ามาถึงปากแม่น้้าเจ้าพระยา เพื่อเจริญพระราชไมตรีและการค้า ได้ยิงสลุต
(ยิงปืนให้ความเคารพ) ให้แก่สยาม ในการที่เรือรบฝรั่งเศสได้ยิงสลุตให้นั้น ทางป้อมก็ชักธงชาติขึ้น แต่ในห้วง
เวลานั้น ธงชาติสยามยังไม่มี จึงได้ชักธงชาติฮอลันดาขึ้นแทน แต่ฝรั่งเศสไม่ยอมยิงสลุต เพราะเห็นว่าไม่ใช่ธงของ
ชาติสยาม จึงแจ้งให้ทราบว่า ให้เอาธงฮอลันดาลงเสีย แล้วชักธงอย่างหนึ่งอย่างใดขึ้นแทน เผอิญในสมัยนั้นธงสีแดง
ถือเป็นธงที่สยามใช้ส้าหรับเป็นธงน้าทัพอยู่แล้ว สยามจึงน้าธงแดงชักขึ้น จากนั้นฝรั่งเศสจึงยิงสลุตให้ ด้วยเหตุนี้
สยามจึงถือเอาธงสีแดงเป็นธงชาติสยาม
สมัยกรุงธนบุรีและต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ก็ยังคงใช้ธงสีแดงเกลี้ยงชักเป็นเครื่องหมายประจ้าเรือค้าขายกับ
ต่างประเทศอยู่ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ ๑) มีพระบรมราชโองการให้ท้ารูป
“จักร” สีขาวติดไว้กลางธงสีแดงเป็นเครื่องหมายใช้เฉพาะเรือหลวง ส่วนเรือค้าขายของราษฎรทั่วไปนั้น ยังคงใช้
สีแดงเกลี้ยงอยู่
ขึ้นรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ ๒) พระองค์ท่านทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้สร้างเรือก้าปั่นของหลวงขึ้น ๒ ล้าเพื่อล่องค้าขายระหว่างสิงคโปร์และมาเก๊า โดยที่เรือหลวงทั้งสองล้า
ดังกล่าว จะชักธงแดงตามธรรมเนียมที่ปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยอยุธยา กระทั่งวันหนึ่งประเทศอังกฤษซึ่งเป็น
เจ้าเมืองสิงคโปร์ได้บอกกับนายเรือหลวงของสยามให้มากราบบังคับทูลพระเจ้ากรุงสยามว่า …”เรือเดินทะเล
ชาวมลายูที่ค้าขายกับสิงคโปร์ก็ชักธงแดงเหมือนกัน เพราะฉะนั้นจึงขอให้พระเจ้ากรุงสยามใช้ธงอย่างอื่นเสีย
เพื่อจะได้จัดการรับรองเรือหลวงได้สะดวกและไม่สับสน”… พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ท้ารูปช้างสีขาวยืนพื้นอยู่ในวงจักรสีขาวติดไว้กลางธงแดงอันมีความหมายว่า
“พระเจ้าแผ่นดินผู้มีช้างเผือก” และธงรูปช้างเผือกสีขาวอยู่ในวงจักรสีขาวนี้ก็ใช้เฉพาะเรือหลวงเท่านั้น
รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) สยามได้มีการทำหนังสือสัญญาเปิดการค้าขายกับ
ชาวตะวันตกมากขึ้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชด้าริว่าธงสีแดงซึ่งเป็นธงที่ใช้กับเรือ
ของสามัญชนชาวสยามนั้น ซ้้ากับประเทศอื่น ยากต่อการแยกแยะ สมควรยกเลิกเสีย และหันมาใช้ธงอย่างเรือหลวง
เป็นธงชาติสยามส้าหรับเรือสามัญชนด้วย แต่โปรดเกล้าให้เอารูปวงจักรสีขาวออกเสีย เพราะเป็นของสูง
ซึ่งถือเป็นเครื่องหมายเฉพาะของพระเจ้าแผ่นดินเท่านั้น โดยให้คงไว้แต่รูปช้างเผือกอยู่กลางธงแดง แต่ทว่า
ให้ปรับขนาดช้างเผือกให้ใหญ่ขึ้น โดยในช่วงแรกเป็นแบบช้างเผือกยืนพื้น ต่อมาปรับรูปช้างเป็นแบบช้างเผือกปล่อย
โดยในช่วงแรกเป็นแบบช้างเผือกยืนพื้น ต่อมาปรับรูปช้างเป็นแบบช้างเผือกปล่อย
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) ก็ได้ออกพระราชบัญญัติว่าด้วยแบบอย่างธงสยาม
เป็นครั้งแรก ตรงกับรัตนโกสินทร์ศก ๑๑๐ ต่อมาคือพระราชบัญญัติธงสยาม รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๖ และ
พระราชบัญญัติธงสยาม รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๘ โดยทุกฉบับได้ยืนยันถึงลักษณะของธงชาติสยามเป็นแบบธงพื้น
สีแดงตรงกลางเป็นรูปช้างเผือกสีขาวปล่อยหันหน้าเข้าหาเสา
ภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๖) ได้ทรงพระราชด้าริว่า เมื่อมองธงชาติซึ่งใช้อยู่
ในขณะนั้นแต่ไกล จะมีลักษณะไม่ต่างจากธงราชการเท่าไร และรูปช้างที่อยู่กลางธงก็ไม่งดงาม จึงโปรดเกล้าฯ
ให้ออกประกาศเพิ่มเติมและแก้ไขพระราชบัญญัติธงรัตนโกสินทร์ศก ๑๒๙ โดยแก้ไขลักษณะธงชาติให้เป็นพื้นสีแดง
กลายเป็นรูปช้างเผือกทรงเครื่อง ยืนแท่น หน้าหันเข้าเสา ส้าหรับเป็นธงราชการ ซึ่งถือเป็นธงช้างรูปสุดท้ายของ
ธงในสมัยรัตนโกสินทร์
และช่วงท้ายในปีพ.ศ. ๒๔๕๙ ก็ได้มีการยกเลิกการใช้ธงชาติแบบช้างเผือกทรงเครื่อง ยืนแท่น หน้าหันเข้าเสา
เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชด้าริเปลี่ยนธงช้างเป็นธงแถบสี เพราะทรงเห็น
ความล้าบากของราษฎรที่ต้องสั่งซื้อธงช้างมาจากต่างประเทศ และบางครั้งเมื่อเกิดความสะเพร่าติดธงผิด
รูปช้างกลับเอาขาชี้ขึ้นเป็นที่น่าละอาย ซึ่งหากเปลี่ยนเป็นธงแถบสีแล้ว ราษฎรก็สามารถท้าธงใช้ได้เอง และจะ
ช่วยขจัดปัญหาการติดผิดพลาด
แต่เนื่องจากธงแดงขาวห้าริ้ว เมื่อดูไม่สง่างาม จึงมีการปรับเปลี่ยนแถบตรงกลางซึ่งเป็นสีแดงให้เป็นสีน้้าเงินขาบ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้พระยาศรีภูริปรีชา ร่างประกาศแก้แบบธงชาติสยาม และได้
ทรงน้าเรื่องเข้าที่ประชุมคณะเสนาบดีเพื่อฟังความเห็น ที่ประชุมลงมติเห็นชอบธงสามสีตามแบบที่คิดขึ้นใหม่
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติธงขึ้นเรียกว่า
พระราชบัญญัติธง พระพุทธศักราช ๒๔๖๐ ออกประกาศเมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๐ มีผลบังคับใช้ภายหลัง
วันออกประกาศในหนังสือราชกิจจานุเบกษาแล้ว ๓๐ วัน ซึ่งต่อมาธงสยามแบบล่าสุดนี้ถูกเรียกว่า “ธงไตรรงค์“
คำค้น : ประวัติ ธงชาติ ไทย ประวัติธงชาติไทย แบบทดสอบเรื่อง ประวัติธงชาติไทย ประวัติ ธงชาติไทย ประวัติธงชาติไทย ppt
ขอบคุณที่มา:led.go.th/Actnews/2560/09/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4W001.pdf วันพุธ, 27 เมษายน 2565อ่านบทความทั้งหมด >>> pangpond.com