อริยสัจมีอะไร ที่เชื่อมโยงการเข้าใจและต่อสู้กับความทรงจำ 3 อริยสัจ?
อริยสัจ 4 เป็นหลักธรรมที่เป็นแก่นของพระพุทธศาสนาอย่างไร อริยสัจ 4 คือ อริยสัจ 4 ใน-ชีวิต-ประ-จํา-วัน อริยสัจ 4 ทุกข์ คือ นิโรธคือ มรรคคือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ
ทุกข์ คือ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ มนุษย์ทุกคนไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ ต่างก็มีความทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ความทุกข์จึงเกิดขึ้นกับใครก็ได้ทุกขณะ เราจึงไม่ควรประมาทและพร้อมที่จะเผชิญหน้ากับความจริงของทุกข์นั้นๆ ความทุกข์เกิดขึ้นที่ไหน และมีกระบวนการเกิดขึ้นได้อย่างไร
อริยสัจสี่ ทุกข์ คือ ความไม่สบายกาย, ความไม่สบายใจ, การประสบกับสิ่งที่ไม่ได้เป็นดั่งใจหวัง ซึ้งประกอบไปด้วย ขันธ์ 5 คือ องค์ประกอบของชีวิตมี 5 ประการ
ขันธ์ 5 ประกอบด้วยกองรูปธรรม และนามธรรมทั้ง
1.รูป คือ ชีวิตและร่างกายทั้งหลายทุกส่วนประกอบของชีวิต รวมถึงพฤติกรรมทั้งหมดของร่างกายด้วย เช่น ลมหายใจเข้าลมหายใจออกเป็นกายอันหนึ่งในกายทั้งหลาย ( ลมคือกาย กายคือลม ไม่ต้องการการพิจารณา )
2.สัญญา คือ ความนึกคิดสิ่งต่าง ๆ นอกจากกาย ( สมปฤดี ) ทั้งจับต้องได้และจับต้องไม่ได้ เมื่อมีความนึกคิด “ รูป ”จะดับ “ สัญญา “ จะเกิด ความรู้สึกนึกคิดให้เราจำว่ายัง จำอะไรได้ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ที่เกิดจากตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ได้สัมผัสกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และนึกคิด
3.เวทนา คือ ความรู้สึก ที่เป็นทั้ง ความสุข ความทุกข์ หรือ ความรู้สึกที่อาจยังไม่รู้ว่า สุข หรือทุกข์ ทั้งทางกายและทางใจ โดยทั่ว ๆเป็นความรู้สึกทั่ว ๆ ไปที่จะทำให้เป็นเหตุ ต่าง ๆ เช่น นั้น ย่อนมีเพียง 3 ประการ คือ
4.สังขาร คือ ส่วนประกอบส่วนหนึ่งในนามธรรรม คือ ความคิด การคิด มีหลาย ๆ อย่างรวมกัน ทำให้เกิดเป็นผล อันใดอันหนึ่งขึ้น การที่จิตของคนเราคิดปรุงแต่งไปในทางที่ดีและในทางที่ไม่ดี ตัวอย่าง ความคิด คือ การคิดจะทำ คิดจะพูด อาจจะทำให้เกิดการกระทำที่ไม่ได้ หรือ การพูดไม่ได้ ก็ได้ ตามที่คิด ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมทั้งทางดีและทางชั่ว หรือ เป็นแรงจูงใจหรือกระตุ้นผลักดันให้คนเราทำกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง
5.วิญญาณ คือ สภาวะการรับรู้ทางอารมณ์ ความรู้แจ้ง ความรู้สึกโดยธรรมชาติมากระทบประสาทสัมผัสทั้ง 5
ตัวอย่าง วิญญาณ เช่น เมื่อหูเสีย เปรียบเสมือนไม่มี หู ( หูหนวก ) ก็จะไม่มีอะไรมากระทบความรู้สึกทางหู ข้อดีคือ ก็จะไม่เกิดทุกข์ทางโสตวิญญาณ เป็นต้น
ตา มองเห็นสิ่งที่ไม่ดี เกิดความทุกข์ทางใจ | ตา มองเห็นสิ่งที่ดี เกิดความสุขทางใจ |
หู ได้ยินเสียงที่ไม่ดี เกิดความทุกข์ทางใจ | หู ได้ยินเสียงที่ดี เกิดความสุขทางใจ |
จมูกได้กลิ่นที่ไม่ดี เกิดความทุกข์ทางใจ | จมูกได้กลิ่นที่ดี เกิดความสุขทางใจ |
ลิ้น ได้ลิ้มรสที่ไม่ดี เกิดความทุกข์ทางใจ | ลิ้น ได้ลิ้มรสที่ดี เกิดความสุขทางใจ |
กายได้สัมผัสสิ่งที่ไม่ดี เกิดความทุกข์ทางใจและทางกาย | กายได้สัมผัสสิ่งที่ดี เกิดความสุขทางใจและทางกาย |
ใจได้นึกคิดถึงสิ่งที่ไม่ดี เกิดความทุกข์ทางใจ | ใจได้นึกคิดถึงสิ่งที่ดี เกิดความสุขทางใจ |
ทุกข์ ยกตัวอย่างสาเหตุ และผลกระทบที่เกิดขึ้น
ทุกข์ คือ ” ความไม่สบายกาย, ความไม่สบายใจ, การประสบกับสิ่งที่ไม่ได้เป็นดั่งใจหวัง ” จากสิ่งที่มากระทบต่ออายตนะทั้ง 6 ประการ หรืออินทรีย์ของร่างกายทั้ง 6 อย่าง คือ ตา, หู, จมูก, ลิ้น, กาย,ใจ และความทุกข์เป็นผลของสมุทัย เป็น ธรรมที่ควรรู้
ฉะนั้น ความสุขและความทุกข์ของคนเรานั้นเกิดขึ้นที่กายและที่ใจ เมื่อมีการกระทำเกิดขึ้นหรือมีพฤติกรรมเกิดขึ้น และเมื่อการกระทำนั้นผ่านไปแล้ว บางทีก็ทำให้เกิดความสุขและความทุกข์ได้เช่น จดจำการกระทำนั้นได้ และได้นึกคิดเกี่ยวกับการกระทำนั้น ทำให้เกิดความไม่พอใจ เกิดความแค้นใจ เกิดความโศกเศร้าใจ เป็นต้น นี่เรียกว่า ความทุกข์
อริยสัจ 4 เป็นหลักธรรมที่เป็นแก่นของพระพุทธศาสนาอย่างไร อริยสัจ 4 คือ อริยสัจ 4 ใน-ชีวิต-ประ-จํา-วัน อริยสัจ 4 ทุกข์ คือ นิโรธคือ มรรคคือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ
การฝันเห็นม้าหลายตัวนั้นเต็มไปด้วยสัญลักษณ์ที่เชื่อมโยงถึงพลังและโชคลาภ ในบทความนี้เราจะมาเจาะลึกความหมายของการฝันในลักษณะนี้ พร้อมแนวทางการตี
ตัวอย่างการแก้ปัญหาด้วยอริยสัจ 4 อริยสัจ 4 สอนให้แก้ปัญหาอย่างไร เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่า วิธีแก้ปัญหาตามหลักอริยสัจ 4 กับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ สอดคล้อง
แนวคิดการรู้เท่าทันสื่อในยุคของการโพสต์ ไลค์ และแชร์ข้อมูลมีกี่มิติ ทักษะการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ เฉลย ความหมายของการรู้เท่าทันสื่อ องค์ประกอบของการรู้
หลักเตือนใจ ๑๐ ประการ เมื่อมีการบาดเจ็บ รักษาอาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อ การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา และ วิธี ปฐมพยาบาล การบาดเจ็บมีกี่ประเภท อะไรบ้าง การ
การรู้จัก ส่วนประกอบต่าง ๆ ในร่างกาย ช่วยให้เราเข้าใจร่างกายของเรามากขึ้น ทั้งในด้านการทำงานและสุขภาพ การเข้าใจว่าร่างกายประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง ช่วยให้