บทสวดมนต์สี่เทพสังฆราช ของพระพุทธเจ้าอริยสัจมีบทบาท 4 บทสวดมนต์?
สังฆคุณ 9 เกี่ยวข้องกับพระรัตนตรัยอย่างไรและอริยสัจ 4 มีหลักธรรมใดที่เกี่ยวข้องบ้าง อริยสัจ 4 เป็นหลักธรรมที่เป็นแก่นของพระพุทธศาสนาอย่างไร อริยสัจ 4 มีองค์
บทสวดมนต์ตอนเช้า หลายๆท่านอาจสับสนกับลำดับของการ สวดมนต์ที่ถูกต้อง การสวมมนต์นั้นสามารถที่จะสวดได้ทั้งตอนเช้า หรือสวดก่อนนอนก็ได้ เวลาไหนก็ได้แต่เพื่อให้มีสามาธิในการทำงาน คนส่วนใหญ่ก็มักจะสวดมนต์เช้าเพื่อทำให้เรื่องเกิดเรื่องราวดีๆ ตลอดทั้งวันจิตใจแจ่มใส และรับกุศล หรือแผ่เมตตาให้ตัวเอง สรรพสัตว์ทั้งหลาย รวมไปถึงเจ้ากรรมนายเวร คนทั่วไปจึงสะดวกช่วงเช้า เพราะจะได้ใส่บาตรพระ ทำบุญไปด้วยเลยนั้นเอง
คำบูชาพระรัตนตรัย
อิมินา สักกาเรนะ พุทธังอะภิปูชะยามิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมังอะภิปูชะยามิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆังอะภิปูชะยามิ
คำนมัสการพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธังภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมังนะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆังนะมามิ (กราบ)
คำอาราธนาศีล 5
มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะสีลานิยาจามะ
ทุติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะสีลานิยาจามะ
ตะติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะสีลานิยาจามะ
คำนมัสการพระพุทธเจ้า
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (3 ครั้ง)
บทสวดไตรสรณคมณ์
พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระนัง คัจฉามิ
คำสมาทานศีล 5
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทังสะมาทิยามิ
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทังสะมาทิยามิ
กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทังสะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทังสะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทังสะมาทิยามิ
คำขอขมาพระรัตนตรัย
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต
บทสวดมนต์สวดอิติปิโส
อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ
สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูห ฮีติ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะ ปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ
อะหัง สุขิโตโหมิ
อะหัง นิททุกโขโหมิ
อะหัง อะเวโรโหมิ
อะหัง อัพยาปัชโฌโหมิ
อะหัง อะนีโฆโหมิ
สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ
บทสวดแผ่เมตตาให้แก่สรรพสัตว์
สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ จากไป ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุข ๆ เถิด อย่าได้มีเวรแก่กัน และกันเลย
อัพญาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุขๆ เถิด อย่าได้พยาบาทเบียดเบียน ซึ่งกันและกันเลย
อะนี ฆา โหนตุ จงเป็นสุข ๆ เถิด อย่าได้มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกาย สุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัย ทั้งสิ้นนี้เทอญ