เยียวยาผู้ประกันตน40

เยียวยาผู้ประกันตน 40 ม จ่ายเงินสมทบประกันสังคมการชำระเงิน?

Click to rate this post!
[Total: 117 Average: 5]

เยียวยาผู้ประกันตน มาตรา 40

ผู้ประกันตนได้รับความคุ้มครองเมื่อ

  • ทางเลือกที่1 จ่าย 70 บาท /เดือน
  • ทางเลือกที่2จ่าย 100 บาท /เดือน
  • ทางเลือกที่3จ่าย 300 บาท /เดือน
เยียวยาผู้ประกันตน มาตรา 40

เยียวยาผู้ประกันตน มาตรา 40

วิธีสมัครประกันสังคมตามมาตรา 40 ผ่าน ว็บไซต์ sso.go.th

1.เข้าสู่เว็บไซร์sso.go.th  แล้วเลือกสมัครสมาชิกให้เรียบร้อยก่อน

สมัครประกันสังคม1

2.คลิกตกลงยอมรับเงื่อนไขการใหบริการ แล้วคลิก ​“ถัดไป”

สมัครประกันสังคม2

3.กรอกรายละเอียดข้อมูลส่วนตัว

  • เลขบัตรประจำตัวประชาชน
  • เบอร์มือถือส่วนตัว
  • กำหนดรหัสผ่านให้เรียบร้อย
  • ชื่อ นามสกุลจริง
  • วันเดือนปีเกิด
  • E-mail (ถ้ามี) เมื่อเรียบร้อยแล้วคลิก “ถัดไป”

สมัครประกันสังคม3

4.ขอรหัส OTP จากระบบ เมื่อได้ sms มาแล้วให้กรอกให้เรียบร้อยแล้วคลิก “ถัดไป”

สมัครประกันสังคม4

5.เมื่อกรอกรหัสเรียบร้อยให้คลิก”ยืนยัน” เป็นอันเสร็จสมบูรณ์

สมัครประกันสังคม5

เมื่อสมัครสมาชิกเรียบร้อย ท่านสามารถทำการสมัคร เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา40 ผ่านเว็บ sso.go.th ได้เลย ดังนี้

1.เข้าสู่เว็บไซร์sso.go.th  แล้วเลือกสมัครสมาชิกให้เรียบร้อยก่อนสมัครประกันสังคมมาตรา40 1

2.กรอกข้อมูลส่วนตัวให้เรียบร้อย

  • เลขบัตรประจำตัวประชาชน
  • รหัสหลังบัตรประชาชน (ด้านหลัง)
  • กรอก คำนำหน้า/ชื่อ-นามสกุล/วัน เดือน ปีเกิด
  • Email (ถ้ามี) เมื่อเรียบร้อยแล้วคลิก “ตรวจสอบ”

สมัครประกันสังคมมาตรา40

3.เลือกรูปแบบเงินสมทบที่จะต้องจ่ายเป็นรายเดือนทุกเดือน มี 3 ทางเลือก สิทธิประโยชน์และความคุ้มครองแตกต่างกัน ซึ่งตั้งแต่เดือนส.ค.2564 – ม.ค.2565 ผู้ประกันตน ม.40 จ่ายเงินสมบทแค่ 60%จากยอดปกติ

4เลือกว่าเป็น ข้าราชการบำเหน็จบำนาญหรือไม่

5.รอ SMS ยืนยันการสมัคร

6.เมื่อได้รับ SMS แล้ว ให้จ่ายเงินค่าลงทะเบียน ที่ เคาน์เตอร์เซอร์วิส (เซเว่น) โลตัส บิ๊กซี ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงศรี ธ.ก.ส. ตู้บุญเติม CanPay Shopee Pay หรือจุดบริการที่สัญลักษณ์

7.เมื่อชำระเงินแล้ว ต้องเก็บหลักฐานการชำระเงินไว้ เนื่องจากสิทธิเป็นผู้ประกันตน มาตรา40 จะเริ่มตั้งแต่วันที่ชำระเงินเป็นต้นไป

1. กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย รับค่าทดแทนขาดรายได้

กรณี ทางเลือกที่ 1 ทางเลือกที่ 2 ทางเลือกที่ 3
ผู้ป่วยใน นอนพักรักษาตัว 1 วันขึ้นไป วันละ 300 บาท วันละ 300 บาท วันละ 300 บาท
ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) ใบรับรองแพทย์ให้หยุด 3 วันขึ้นไป วันละ 200 บาท วันละ 200 บาท วันละ 200 บาท
เงื่อนไขการรับสิทธิ ผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกหยุดรวมกัน ไม่เกิน 30วัน/ปี ไม่เกิน 30วัน/ปี ไม่เกิน 90วัน/ปี
ผู้ป่วยนอก (ไม่นอนโรงพยาบาล) หยุดไม่เกิน 3วัน (ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง) วันละ 50 บาท วันละ 50 บาท ไม่คุ้มครอง

2. กรณีทุพพลภาพ รับค่าทดแทนขาดรายได้

กรณี ทางเลือกที่ 1 ทางเลือกที่ 2 ทางเลือกที่ 3
ได้รับค่าทดแทนรายเดือน (ขึ้นกับระยะเวลาส่งเงินสมทบของผู้ประกันตน) 500 – 1,000 บาท 500 – 1,000 บาท 500 – 1,000 บาท
ได้รับค่าทดแทนเป็นระยะเวลา เป็นเวลา 15 ปี เป็นเวลา 15 ปี ตลอดชีวิต
เสียชีวิตระหว่างทุพพลภาพ ได้รับค่าทำศพ 20,000 บาท 20,000 บาท 40,000 บาท

3. กรณีเสียชีวิตได้เงินค่าทำศพ

กรณี ทางเลือกที่ 1 ทางเลือกที่ 2 ทางเลือกที่ 3
ผู้จัดการศพ ได้รับค่าทำศพ 20,000 บาท 20,000 บาท 40,000 บาท
-จ่ายเงินสมทบครบ 60 เดือนก่อนเสียชีวิต ได้รับเงินเพิ่ม รับเพิ่ม 3,000 บาท รับเพิ่ม 3,000 บาท ไม่คุ้มครอง

4. กรณีชราภาพ ได้รับเงินก้อนพร้อมดอกผล

กรณี ทางเลือกที่ 1 ทางเลือกที่ 2 ทางเลือกที่ 3
สะสมเงินบำเหน็จชราภาพ (เงินออม) จากเงินสมทบ เดือนละ (ได้รับเงินเมื่ออายุครบ 60ปี และสิ้นสุดการเป็นผู้ประกันตน) ไม่คุ้มครอง 50 บาท 150 บาท
จ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือนรับเงินเพิ่ม ไม่คุ้มครอง ไม่คุ้มครอง รับเพิ่ม 10,000 บาท
ผู้ประกันตนจ่ายเงินออมเพิ่มได้ไม่เกินเดือนละ ไม่คุ้มครอง ออมเพิ่มได้ 1,000 บาท ออมเพิ่มได้ 1,000 บาท

5. กรณีสงเคราะห์บุตร ได้รับเงินรายเดือน

กรณี ทางเลือกที่ 1 ทางเลือกที่ 2 ทางเลือกที่ 3
ได้รับเงินวงเคราะห์บุตรแรกเกิด ถึง 6 ปีบริบูรณ์ (จ่ายเงินสมทบ 24 ใน 36 เดือน) ไม่คุ้มครอง ไม่คุ้มครอง คนละ 200 บาท(คราวละไม่เกิน 2 คน)

ช่องทางการสมัครสมาชิกประกันสังคม

  1. สำนักงานประกันสังคม ทั่วประเทศ
  2. เซเว่น -อีเลฟเว่น ทุกสาขา
  3. เว็บไซต์ sso.go.th
  4. ธนาคาร รกส. ทุกสาขา
  5. สายด่วนประกันสังคม 1506
  6. Big C ซุปเปอร์เซ็นเตอร์
  7. เครือข่ายประกันสังคม ทั่วประเทศ
  8. สำหรับผู้ประกันตนใช้สมัครด้วยตนเอง

ช่องทางการชำระเงินสมทบ หักบัญชีชินฟากธนาคาร+เคานี้เทอร์

  1. ธนาคารกรุงไทย
  2. ธนาคารไทยพาณิชย์
  3. ธนาคารกรุงศรีอยธยา
  4. ธนาคารกสิกรไทย
  5. ธนาคารกรงเทพ
  6. ธนาคารทหารไทย
  7. ธนาคารออมสิน
  8. ธนาคารธนชาต
  9. CenPay
  10. ธนาคาร ธกส.
  11. เคาน์เตอร์เซอร์วิส
  12. ห้างเทสโก้โลตัส
  13. ต้บุญเติม
  14. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
มาตราการช่วยเหลือผู้ประกันตน ม.40

มาตราการช่วยเหลือผู้ประกันตน ม.40

ปิดกิจการ
ประวัติความเป็นมาของเกม
221391
ประเทศทั้งหมด
ปก การเลือกซื้อเม้าส์และคีย์บอร์ด
ปก 5 วิธีรักษาอาการ
ปก การตลาด
บทความแนะนำ หมวดหมู่: เศรษฐกิจ
จำนวนคอมเมนต์ของโพสต์ ID 164025: 1203