หลักฐานชั้นต้น 10 หลักฐานชั้นรองข้อทางประวัติศาสตร์กี่ประเภท
หลักฐานชั้นต้น
ใบความรู้เรื่องหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ความหมายและประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์ คือ ร่องรอยการกระทาของมนุษย์ในอดีต ที่ใช้เครื่องมือสาคัญในการสืบค้นแสวงหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสังคมมนุษย์ในอดีตแหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยแต่ละยุคสมัยอาจจำแนกได้เป็น ๒ ประเภท ดังนี้
- หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
- หลักฐานที่เป็นวัตถุ
การแบ่งลำดับความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็น ๒ ประเภท คือ
- หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ เป็นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ โดยมีrการบันทึกของผู้ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์โดยตรง หรือผู้ที่รู้เหตุการณ์นั้นด้วยตนเอง
- หลักฐานชั้นรองหรือหลักฐานทุติยภูมิเป็นหลักฐานที่เขียนขึ้นโดยบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง โดยมีการเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิดเหตุการณ์นั้นๆ ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของบทความทางวิชาการและหนังสือต่างๆ เช่น พงศาวดาร ตำนาน บันทึกคาบอกเล่า ผลงานทางการศึกษาค้นคว้าของนักวิชาการลักษณะสำคัญของหลักฐานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
- โบราณสถาน
หลักฐานที่ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร ได้แก่
- โบราณสถาน หมายถึง สิ่งก่อสร้างโดยฝีมือมนุษย์ขนาดต่างๆกัน อยู่ติดกับพื้นดินไม่อาจนำเคลื่อนที่ไปได้
- โบราณวัตถุ หมายถึง สิ่งของโบราณที่มีลักษณะต่างๆกัน สามารถนาติดตัว เคลื่อนย้ายได้ ไม่ว่าสิ่งของนั้น ๆ จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ เป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น หรือเป็น ส่วนหนึ่งส่วนใดของโบราณสถาน และสิ่งของที่มนุษย์ ประดิษฐ์ขึ้นเหล่านี้เกิดขึ้นในสมัยประวัติศาสตร์
- โบราณวัตถุ
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ จารึกในแง่ของภาษาแล้วมีคาอยู่ ๒ คำที่คล้ายคลึงและเกี่ยวกับข้องกัน คือ คำว่า จาร และจารึก
- คำว่า จาร แปลว่า เขียนอักษรด้วยเหล็กแหลมลงบนใบลาน
- คำว่า จารึก แปลว่า เขียนเป็นรอยลึกลงบนแผ่นศิลาหรือโลหะ
- หลักฐานที่เป็นจดหมายเหตุ
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ คำว่า จารึก หมายรวมถึง หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งใช้วิธีเขียนเป็นรอยลึก ถ้าเขียนเป็นรอยลึกลงบนแผ่นหิน เรียกว่า ศิลาจารึก
- เอกสารพื้นเมืองเอกสารพื้นเมืองนับได้ว่าเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่สาคัญของประเทศไทย มักปรากฏในรูปหนังสือสมุดไทย และเรียกชื่อแตกต่างกันออกไป เช่น ตานาน พงศาวดาร จดหมายเหตุ ดังมีรายละเอียด ดังนี้
- ตานานเป็นเรื่องที่เล่าถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในอดีต เล่าสืบต่อกันมาแต่โบราณจนหาจุดกาเนิดไม่ได้ แต่ไม่สามารถรู้ได้ว่าใครเป็นคนเล่าเรื่องราวเป็นคนแรก
- พงศาวดาร หมายถึง เรื่องราวที่เกี่ยวกับพระเจ้าแผ่นดิน
- จดหมายเหตุ หมายถึง เอกสารทางราชการทั้งหมด เมื่อถึงสิ้นปีจะต้องนาชิ้นที่ไม่ใช้แล้วไปรวบรวมเก็บ
รักษาไว้ที่กองจดหมายเหตุแห่งชาติ
บทความแนะนำ หมวดหมู่: วัยรุ่น
จำนวนคอมเมนต์ของโพสต์ ID 180836: 591