ภาษีป้าย 12 SIGN ทำความเข้าใจกฎระเบียบวิธีการลดหย่อนเก็บจาก?
ภาษีป้าย ป้ายที่ต้องเสียภาษี ป้ายที่ไม่ต้องเสียภาษี ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้าย เอกสารใช้ในการยื่นแบบป้าย อัตราภาษีป้าย การคํานวณภาษีป้าย การคำนวณพื้นที่ป้าย
คือภาษีที่รัฐบาลเรียกเก็บจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนการผลิตสินค้าหรือบริการ และการจำหน่ายสินค้าประเภทต่างๆ ซึ่งผู้ประกอบการจะทำหน้าที่เก็บจากลูกค้า แล้วนำภาษีมูลค่าเพิ่มไปชำระแก่รัฐบาล
การชำระภาษีมูลค่าเพิ่มต้องชำระภายในวันที่15ของทุกเดือน และถึงแม้เดือนนั้นจะไม่มีทั้งยอดซื้อหรือยอดขายเลยก็จำเป็นที่จะต้องยื่นแบบเปล่า แต่ถ้าวันที่15 ตรงกับวัน เสาร์ อาทิตย์ หรือวันหยุดนักขัตฤกษ์ ก็จะไม่ถูกเสียค่าปรับ และหากทำชำระผ่านอินเตอร์เน็ตจะขยายระยะเวลาในการชำระเพิ่มไปอีก 8 วัน
อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มจริงๆของประเทศไทยนั้นกำหนดอัตราการเก็บภาษีสูงสุดที่ 10% แต่เนื่องจากมีการออกกฎหมายพิเศษให้ลดมาเหลือ 7%เป็นการชั่วคราวแบบปีต่อปี แล้วใช้วิธีต่ออายุมาเรื่อยๆ
ในปัจจุบัน เราจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราคงที่อยู่ที่ 7% (ซึ่งมาจากภาษีมูลค่าเพิ่ม6.3% + ภาษีท้องถิ่น 0.7%)
การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มนั้นจะถูกบังคับให้จดทันทีเมื่อรายได้ของเราถึง 1.8 ล้านบาทในระหว่างปี
ในปัจจุบัน เราจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราคงที่อยู่ที่ 7%
ผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มคือ ผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือบริการในทางธุรกิจ หรือวิชาชีพ ไม่ว่าจะประกอบกิจการแบบบุคคลธรรมดา คณะบุคคลหรือห้างหุ้มส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล หากมีรายได้จากการขายสินค้าหรือบริการเกิน 1.8ล้านบาท จะต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มทันที
Tax คือ ภาษีที่รัฐบาลเรียกเก็บจากผู้มีหน้าที่เสียภาษี เพื่อนำไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนรวม โดยแบ่งเป็นภาษีทางตรง และทางอ้อม
ภาษีที่สรรพกร ได้มีการจัดเก็บประกอบด้วย
วิธีคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ทำได้โดยการนำราคาสินค้ามา คูณด้วย 7 หาร 100 (ราคา×(7÷100)) ก็จะได้ผลลัพธ์เป็นภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องการ เช่นเราซื้อเครื่องคิดเลข 1,000 บาท
วิธีการคิด 1,000 ×(7÷100) = 70 เท่ากับว่าภาษีมูลค่าเพิ่มที่เราต้องจ่ายก็คือ 70บาท
ภาษีมูลค่าเพิ่ม = Value Added Tax (VAT)
การจะนำส่ง Vat 0% จะต้องเกิดจากการ
Non Vat
มาตรา 82/6 ในกรณีที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนประกอบกิจการ ทั้งประเภทที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม และประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม และผู้ประกอบการจดทะเบียนได้นำสินค้าหรือบริการที่ได้มาหรือได้รับมาในการประกอบกิจการของตนไปใช้ หรือจะใช้ในกิจการทั้งสองประเภท ให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนนั้นเฉลี่ยภาษีซื้อที่จะนำมาหักออกจากภาษีขายในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามมาตรา 82/3 ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด
เงินได้ที่บุคคลซึ่งมีหน้าที่เสียเงินได้ ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย มีดังนี้
ภาษีธุรกิจเฉพาะคือ ภาษีที่จะจัดเก็บกิจการบางประเภทที่กฎหมายกำหนดไว้เป็นพิเศษ ซึ่งแยกจากภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะได้แก่
ในกรณีที่ผู้ประกอบการอยู่นอกราชอาณาจักร ให้ผู้ที่มีอำนาจแทนในกิจการเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีร่วมกับผู้ประกอบกิจการ
หากผู้ประกอบการ มีรายได้เกิน 1.8ล้าน แต่ไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้ประกอบการนั้นมีหน้าที่ต้องไปจดทะเบียนภายใน 30 วัน เพราะหากไม่จดตามระยะเวลาที่กำหนดจะมีผลตามกฎหมายดังนี้
ภาษีธุรกิจเฉพาะ (Special Business Tax – SBT)
หากบริษัทนั้น ๆ มีรายได้ไม่เกิน 1.8 ล้าน ก็สามารถที่จะไม่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มได้ แต่หากว่า บริษัทนั้นมีรายได้เกิน 1.8ล้าน จำเป็นที่จะต้องไปจดทะเบียนภายใน 30 วัน
กรมสรรพกรได้มีมาตรการรับมือกับเหตุโรคระบาด โควิด-19 คือ ขยายระยะเวลายื่นแบบ ภ.พ.30 เดือนมีนาคม และเดือนเมษายน ทั้งการยื่นแบบกระดาษ และยื่นผ่านอินเตอร์เน็ต ไปเป็นวันที่ 15 พฤษภาคม
เอกสารประกอบการเรียนการสอน ประกอบการศึกษา และหนังสือในรูปแบบ E-book ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มจากการขายและการนำเข้าทุกชนิด แต่แผ่นปลิวโฆษณา รูปลอก มิใช่ตำราเรียน ไม่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีบำรุงท้องที่ คือ ภาษที่จัดเก็บที่ดินที่ใช้ประโยชน์เพื่อปลูกบ้านอยู่อาศัยหรือทำการเกษตร ซึ่งผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีคือ เจ้าของที่ดิน ซึ่งเป็นบุคคลหรือคณะบุคคลไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล
หน่วยงานที่มีหน้าที่จัดเก็บภาษีอากร คือ กรมสรรพสามิต
ภาษีโรงเรือนและที่ดิน หมายถึง ภาษีที่เก็บจากโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ กับที่ดินที่ใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่องไปกับโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้างนั้นๆ ซึ่งโรงเรือนในที่นี้หมายถึง อาคาร บ้า ตึกแถว ร้านค้า สำนักงาน โรงพยาบาล โรงแรม เป็นต้น
ซึ่งผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีคือ เจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ต้องเสียภาษี ยกเว้นกรณีที่ที่ดิน โรงเรือน และอาคารนั้นเป็นคนละเจ้าของกัน กำหนดให้เจ้าของกรรมสิทธิ์อาคาร โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างเป็นผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษี
ภาษีสรรพสามิต คือภาษีการขายเฉพาะที่เรียกเก็บจากสินค้าและบริการบางประเภท ซึ่งจะมีภาระในการจ่ายภาษีสูงกว่าปกติ เช่น สินค้าที่บริโภคแล้วอาจทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพและศีลธรรมอันดี สินค้าและบริการที่มีลักษณะเป็นการฟุ่มเฟือย หรือสินค้าที่ได้รับผลประโยชน์เป็นพิเศษจากรัฐ หรือสินค้าที่ก่อให้เกิดภาระต่อรัฐบาลในการที่จะต้องสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆเพื่อให้บริการผู้บริโภค หรือเป็นสินค้าที่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
ภาษีซื้อ หมายถึง ภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา 7% ของราคาสินค้าหรือบริการที่ผู้ประกอการต้องจ่าย ตามหลักฐานต้นฉบับกำกับภาษี เนื่องจากซื้อสินค้าหรือบริการภายในราชอาณาจักรจากผู้ประกอบการรายอื่น ซึ่งมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังนี้