ใบส่งสินค้าชั่วคราว DELIVERY NOTE 7 วิธีทำได้เองใครก็ทำได้ง่ายๆ?
ใบส่งสินค้าชั่วคราว (Temporary delivery note) หมายถึง เอกสารที่ตกลงกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายว่าตรงกันหรือไม่ ใช้ส่งให้กับผู้รับสินค้าเป็นการชั่วคราว เพื่อให้
การใช้ระบบใบสำคัญสั่งจ่ายเป็นการควบคุมภายในเกี่ยวกับการจ่ายเงินสดของกิจการโดยการใช้เอกสาร อำนาจการอนุมัติการจ่ายเงินและการใช้เช็คของธนาคารเป็นเครื่องมือ การจ่ายเงินสดสำหรับค่าใช้จ่ายทุกรายการของกิจการนั้นจะเกิดความยุ่งยากในการเก็บรักษาเงินสด เสี่ยงต่อการถูกโจรกรรม การทุจริต และไม่สามารถพิสูจน์ผู้รับเงินได้เมื่อเกิดกรณีพิพาทเกิดขึ้น ดังนั้นกิจการจึงใช้ระบบใบสำคัญสั่งจ่ายควบคุมการจ่ายเงินทุกรายการ ยกเว้นรายจ่ายจำนวนเล็กๆน้อยๆ จะจ่ายจากเงินจำนวนที่กิจการตั้งไว้ โดยอาศัยเช็คของธนาคารที่เป็นตัวกลางในการจ่ายเงินทุกรายการ ค่าใช้จ่ายทุกรายการที่เกิดขึ้นกิจการจะตั้งไว้เป็นหนี้สินก่อน
เป็นเอกสารปะหน้าสำหรับเอกสารการจ่ายเงินทุกรายการของกิจการเช่น ปะหน้าใบกำกับสินค้าของผู้ขาย ปะหน้าใบทวงหนี้ ปะหน้าใบเสร็จรับเงินที่ยังไม่จ่าย เป็นต้นกิจการแต่ละแห่งจะออกแบบและจัดทำใบสำคัญสั่งจ่ายขึ้นมาใช้เป็นเอกสารภายในของกิจการเอง โดยไม่มีแบบฟอร์มที่กำหนด เราจะใช้คำย่อของใบสำคัญสั่งจ่ายว่า บจ หรือใช้ภาษาอังกฤษว่า PV
ขั้นตอนในการใช้ระบบใบสำคัญสั่งจ่าย
เมื่อมีเอกสารเข้ามาในกิจการให้กิจการต้องจ่ายเงิน แผนกการเงินจะตรวจสอบเอกสารเหล่านั้นแล้วจัดเตรียมใบสำคัญสั่งจ่าย ซึ่งกิจการได้จัดทำแบบฟอร์มไว้ล่วงหน้าแล้ว จากนั้นจะนำใบสำคัญสั่งจ่ายที่จัดทำแล้วเย็บติด ปะหน้าเอกสารต่างๆ ส่งให้ผู้มีอำนาจอนุมัติตามอำนาจของวงเงินอนุมัติ
เมื่อมีการอนุมัติใบสำคัญต่าง แล้วจะนำไปบันทึกบัญชีในทะเบียนใบสำคัญสั่งจ่าย ต่อจากนั้นจึงนำใบสำคัญที่บันทึกบัญชีแล้วเก็บเข้าแฟ้มใบสำคัญที่ยังไม่จ่ายเงินเพื่อรอให้ถึงกำหนดจ่ายเงินจึงนำออกมาจัดทำเช็คสั่งจ่าย
เมื่อกิจการจัดทำใบสำคัญสั่งจ่ายแล้ว จะส่งให้แผนกบัญชีบันทึกในทะเบียนใบสำคัญสั่งจ่ายทะเบียนใบสำคัญสั่งจ่ายถือเสมือนหนึ่งเป็นสมุดรายวันเฉพาะเจ้าหน้าที่ ตัวย่อของทะเบียนในใบสำคัญสั่งจ่ายได้แก่ ทจ หรือ VR ช่องเดบิตบัญชีเฉพาะนั้นจะมีชื่อบัญชีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการออกแบบและความต้องการของแต่ละกิจการ
เมื่อใบสำคัญสั่งจ่ายฉบับใดถึงกำหนดชำระจะนำออกจากแฟ้มใบสำคัญที่ยังไม่จ่ายเงินเพื่อมาจัดทำเช็คสั่งจ่าย การจ่ายเช็คตามใบสำคัญสั่งจ่ายจะจ่ายเรียงตามวันที่ถึงกำหนดชำระก่อนหลัง เมื่อจัดทำเช็คสั่งจ่ายแล้วกิจการจะบันทึกรายการนี้ในทะเบียนเช็คโดยอ้างอิงเลขที่ใบสำคัญสั่งจ่ายในทะเบียนเช็ค จากนั้นให้ย้อนหลังกลับไปบันทึกในทะเบียนใบสำคัญสั่งจ่ายในช่องการชำระเงินตามวันที่และเลขที่สั่งจ่ายสำหรับรายการนั้นๆ ทะเบียนเช็คถือเสมือนหนึ่งเป็นสมุดรายวันเฉพาะสมุดเงินสดจ่ายตัวย่อของทะเบียนเช็คได้แก่ ทช หรือ CR ใบสำคัญที่ทำเช็คจ่ายแล้วให้นำมาแยกใส่แฟ้มใบสำคัญที่จ่ายเงินแล้ว
บางครั้งเมื่อกิจการใช้ระบบใบสำคัญสั่งจ่ายแล้วจะเกิดปัญหาบางประการขึ้น เช่น พบความผิดพลาดบางประการ หรืออาจมีเหตุการณ์บางอย่างเกิดขึ้นทำให้กิจการมีความจำเป็นต้องยกเลิกใบสำคัญสั่งจ่ายบางฉบับเป็นต้น ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นพอสรุปได้ดังนี้
อ่านบทความทั้งหมด >>> pangpond.com