การบันทึกบัญชี ขายออนไลน์ของ lazada เสียภาษียังไงยื่นภาษีรายงาน
การบันทึกบัญชี ขายออนไลน์ ขายของ lazada เสียภาษียังไง ยื่นภาษี lazada การบันทึกบัญชี shopee รายงานทางบัญชี lazada ดึงยอดขาย lazada บันทึกบัญชี
มาตรา 33 คือ ให้ลูกจ้างซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบห้าปีบริบูรณ์และไม่เกินหกสิบปีบริบูรณ์เป็นผู้ประกันตนลูกจ้างซึ่งเป็นผู้ประกันตนอยู่แล้วตามวรรคหนึ่ง เมื่อมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์และยังเป็นลูกจ้างของนายจ้างอยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่าลูกจ้างนั้นเป็นผู้ประกันตนต่อไป เป็นกฎหมายตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2533
ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 จะได้รับความคุ้มครองใน 7 กรณี จากกองทุนประกันสังคม เมื่อจ่ายเงินสมทบครบ 3 เตือนภายในระยะเวลา 15 เตือนก่อนเตือนที่รับบริการทางการแพทย์ และเลือกโรงพยาบาลแล้วผู้ประกันตนจะได้รับ “บัตรรับรองสิทธิการรักษา” ซึ่งบัตรจะมีชื่อของผู้ประกันตน และชื่อสถานพยาบาลที่เลือกไว้แต่ไม่มีภาพถ่ายติดจึงต้องใช้ควบคู่กับบัตรประจำตัวประชาชนการเข้ารับการรักษาไม่ว่าจะเป็น
สถานพยาบาลที่ผู้ประกันตนเลือกถือเป็น สถานพยาบาลหลัก (MAINCONTRACTOR) ซึ่งสถานพยาบาลหลักนั้นอาจมี สถานพยาบาลเครือข่าย (SUBCONTRACTOR) เช่นโรงพยาบาลเล็ก ๆ หรือคลินิกเพื่ออำนวยความสะตวกให้แก่ผู้ประกันตน โดยผู้ประกันตนสามารถเข้าไปรักษาพยาบาลได้โดยไม่สียค่าใช้จ่าย
เช็คเงินชราภาพประกันสังคม คือ สิทธิประโยชน์จากกองทุนหนึ่งในสำนักงานประกันสังคมเพื่อเป็นทุนใช้จ่ายให้ผู้ประกันตนซึ่งจะได้รับประโยชน์ทดแทนจากเงินที่ให้ผู้ประกันตนส่งให้ในรูปแบบเงินสมทบ ไม่ว่าจะส่งจากนายจ้าง ลูกจ้าง หรือรัฐบาลตามกฎหมาย แต่ต้องไม่เกินอัตราเงินสมทบที่กำหนด
ผู้มีสิทธิได้รับเงินชราภาพ ต้องแบ่งเป็น 2 กรณี คือ
ผู้มีสิทธิได้รับเงินบำนาญประกันสังคม
ผู้มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จประกันสังคม
ประโยชน์ทดแทนกรณีบำเหน็จชราภาพ
หลักฐานที่ต้องใช้เพื่อขอรับประโยชน์ทดแทน กรณีชราภาพ
กรณีผู้ประกันตนถึงแก่ความตาย
กรณีบำนาญชราภาพ
สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชีของผู้ยื่นคำขอฯสำเนาสมุดบัญชี เงินฝากธนาคารหน้าแรก ซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชี (กรณีขอรับเงินทางธนาคาร) ผ่านทางบัญชีธนาคารของผู้ประกันตน ดังนี้
หลักเกณฑ์ที่จะทำให้ท่านมีสิทธิ มีดังนี้
ประโยชน์ทดแทนกรณีบำเหน็จชราภาพ (สำหรับผู้ประกันตนที่จ่ายเงินสมทบกรณีชราภาพไม่ถึง 180 เดือน) กรณีที่จ่ายเงินสมทบกรณี ชราภาพ ไม่ถึง 12 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพมีจำนวนเท่ากับจำนวนเงินสมทบ ที่ผู้ประกันตนจ่ายสมทบ
ประกันตนอายุ 55 ปี และสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง ขณะส่งเงินสมทบได้ 10 เดือน ประโยชน์ทดแทน กรณีบำเหน็จชราภาพจะได้รับ 300 x 10 = 3,000 บาท กรณีที่จ่ายเงินสมทบกรณีชราภาพ ตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพมีจำนวนเท่ากับจำนวนเงินสมทบ ที่ผู้ประกันตนและนายจ้างนำส่งพร้อมผลประโยชน์ตอบแทน ตามที่สำนักงานประกันสังคมประกาศกำหนด
ตัวอย่าง ผู้ประกันตนอายุ 55 ปี สิ้นสุดสภาพการเป็นลูกจ้างวันที่ 28 พฤศจิกายน 2547 ยื่นคำขอรับประโยชน์ทดแทน ในวันที่ 10 ธันวาคม 2547 เจ้าหน้าที่วินิจฉัยในวันเดียวกัน โดยมีรายการนำส่งเงินสมทบ กรณีชราภาพของผู้ประกันตน ดังนี้
ปี | นายจ้าง | ลูกจ้าง | รวม |
---|---|---|---|
2542 | 850 | 850 | 1,700 |
2543 | 1,550 | 1,550 | 3,100 |
2544 | 2,300 | 2,300 | 4,600 |
2545 | 3,200 | 3,200 | 6,400 |
2546 | 4,100 | 4,100 | 8,200 |
หมายเหตุ 11/12 หมายถึง ผู้ประกันตนนำส่งเงินสมทบมาแค่ 11 เดือน ภายใน 1 ปี เงินบำเหน็จชราภาพและผลประโยชน์ตอบแทนที่ผู้ประกันตนจะได้รับ คือ 29,600 + 3,395.27 = 32,995.27บาท
(สำหรับ ผู้ประกันตนที่จ่ายเงินสมทบกรณีชราภาพ มาแล้วไม่น้อยกว่า 180 เดือน ครบอายุ 55 ปี และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลงจะได้รับเงินบำนาญชราภาพ ในอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย)
ตัวอย่างที่ 1
120% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย = 20 x 13.000 100 = 2,600
ผู้ประกันตนจะได้รับเงินบำนาญชราภาพเดือนละ 2,600 บาท ไปจนตลอดชีวิต
การหาค่าเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย คือ นำค่าจ้าง 60 เดือนสุดท้าย รวมกันแล้วหารด้วย 60
ค่าจ้างเฉลี่ย = ผลรวมของค่าจ้าง 60 เดือน จำนวนเดือน (60 เดือน)
กรณีที่จ่ายเงิน สมทบเกิน 180 เดือน ให้ปรับเพิ่มอัตราเงินบำนาญชราภาพขึ้นอีกในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบครบทุก 12 เดือน สำหรับระยะเวลาที่จ่ายเงินสมทบเกิน 180 เดือน เช่น จ่ายเงินสมทบมาได้ 193 เดือน จะได้รับเงินบำนาญชราภาพในอัตรา 21.5% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือน สุดท้าย เป็นต้น
ตัวอย่างที่ 2
ตัวอย่างเช่น ผู้ประกันตนทำงานได้รับเงินค่าจ้างเดือนละ 15,000 บาท มาตลอด และส่งเงินสมทบมาแล้ว 20 ปี อายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง จะได้รับเงินบำนาญชราภาพเดือนละเท่าใด และหากเสียชีวิตภายใน 5 ปี จะได้รับเงินหรือไม่อย่างไร
= 15 ปี (แรก) ได้อัตราเงินบำนาญ 20%
= 5 ปี (หลัง) ได้อัตราเงินบำนาญ (1.5% (ปรับเพิ่ม) × 5ปี )
= 7.5%
รวมอัตราเงินบำนาญ 20 ปี
= 20% + 7.5% = 27.5% ผู้ประกันตนจะได้รับเงินบำนาญรายเดือน
= 27.5% ของ 15,000 บาท
= 4,125 บาท/เดือนจนตลอดชีวิต
= 4,125 บาท × 10 เท่า
= 41,250 บาท
ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการจ่ายเงินสมทบรายเดือนกับกองทุนประกันสังคมนั้นมิได้สูญเปล่า เพราะนอกจากจะได้รับสิทธิประโยชน์ระหว่าง การทำงานมากมายแล้ว เมื่อถึงวัยเกษียณก็ยังคง อุ่นใจได้ว่ามีเงินออมชราภาพไว้เป็นหลักประกัน
สำนักงานประกันสังคมนั้นจะมีการส่งหนังสือแจ้งยอดเงินสมทบให้ผู้ประกันตนอยู่แล้ว แต่หากผู้ประกันตนต้องการที่จะเช็กยอดเงินสะสมด้วยตัวเอง ก็สามารถตรวจสอบได้ตามช่องทางนี้
การเบิกเงินชราภาพนั้นจะทำได้ก็ต่อเมื่อผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 180 เดือน โดยในระหว่างนั้นไม่จำเป็นที่ต้องจะทำการจ่ายอย่างติดต่อกันทุกเดือน ผู้ประกันตนนั้นจึงมีสิทธิที่จะได้รับเงินบำนาญ โดยเริ่มตั้งแต่เดือนที่ถัดจาดเดือนที่มีอายุครบ 55 ปี บริบูรณ์ เว้นแต่เมื่ออายุครบ 55 ปีบริบูรณ์แล้วความเป็นผู้ประกันตนยังไม่สิ้นสุดลงตามมาตรตรา ๓๘ หรือ มาตตรา ๔๑ ผู้ประกันตนนั้นจะมีสิทธิได้รับเงินบำนาญในเดือนถัดไปหลังจากที่สิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนลง
ส่วนผู้ประกันตนที่จ่ายเงินสมทบไม่ครบ 180 เดือน และ ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลงตามมาตรตรา ๓๘ หรือ มาตตรา ๔๑ ผู้ประกันตนนั้นจะได้รับเงินบำเหน็จแทน
การรับเงินชราภาพนั้นจะเริ่มตั้งแต่เดือนที่ถัดจาดเดือนที่มีอายุครบ 55 ปี บริบูรณ์ เว้นแต่เมื่ออายุครบ 55 ปีบริบูรณ์แล้วความเป็นผู้ประกันตนยังไม่สิ้นสุดลงตามมาตรตรา ๓๘ หรือ มาตตรา ๔๑ ผู้ประกันตนนั้นจะมีสิทธิได้รับเงินบำนาญในเดือนถัดไปหลังจากที่สิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนลง ส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับเงินบำนาญชราภาพแล้วกลับเข้าไปเป็นผู้ประกันตน จะงดการจ่ายเงินบำนาญจนกว่าการเป็นผู้ประกันตนจะสิ้นสุดลง ตามมาตรตรา ๓๘ หรือ มาตตรา ๔๑
สำหรับผู้ที่อายุ 60 ปีแล้วต้องการที่จะทำประกันสังคมนั้น สามารถทำได้ โดยจะต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกันตน มาตรา 40 โดยจะมีสิทธิ์เป็นผู้ประกันตนประเภทนี้ได้จนถึงอายุ 65 ปี
การจ่ายเงินประกันสังคม มาตรา33 และ39 นั้น สามารถจ่ายได้จนถึงอายุ 55 ปีบริบูรณ์ ส่วนมาตรา 40 นั้นสามารถจ่ายได้ตั้งแต่อายุ 60 ปี ถึง 65ปี
ในส่วนของการได้รับสิทธิประโยชน์กรณีชราภาพนั้นสามารถแบ่งได้ดังนี้
กองทุนชราภาพประกันสังคมนั้น ได้เริ่มจัดเก็บเงินสมทบกรณีชราภาพมาตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2541 และกฎหมายประกันสังคมได้กำหนดให้ผู้ประกันตนทุกคนที่มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์และสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีบำนาญชราภาพหรือบำเหน็จชราภาพตามเงื่อนไขการส่งเงินสมทบของผู้ประกันตน
เช็คเงินประกันสังคม อายุ 55
1. เงินเลี้ยงชีพรายเดือน จะเรียกว่า เงินบำนาญชราภาพ วิธีคำนวณคือ 20% + ((จำนวนเดือนสมทบ-180)/12*1.5)% คูณกับเงินเดือนค่าเฉลี่ยเงินเดือน 60 เดือนสุดท้ายก่อนเกษียณ (แต่ก็จะโดนจำกัดที่ 15,000 บาทเหมือนเดิม)
2. เงินบำเหน็จที่จ่ายให้คั้งเดียว เรียกว่า เงินบำเหน็จชราภาพ
– จ่ายเงินสมทบไม่เกิน 180 เดือน และไม่เกิน 12 เดือน จะได้เป็นบำเหน็จจำนวนที่ตัวเองจ่ายเท่านั้น เช่น จ่ายเงินสมทบของตัวเอง 450 บาทต่อเดือน เป็นเวลา 11 เดือน
– จ่ายเงินสมทบไม่เกิน 180 เดือน และเกิน 12 เดือน จะได้ เงินสมทบตัวเอง นายจ้าง และรัฐบาล + ผลประโยชน์หมายถึงกำไรจากที่ประกันสังคมเอาเงินไปลงทุน ซึ่งอาจจะอยู่ราว 3-6% โดยที่ในปี
1. เงินเลี้ยงชีพรายเดือน จะเรียกว่า เงินบำนาญชราภาพ วิธีคำนวณคือ 20% + ((จำนวนเดือนสมทบ-180)/12*1.5)% คูณกับเงินเดือนค่าเฉลี่ยเงินเดือน 60 เดือนสุดท้ายก่อนเกษียณ (แต่ก็จะโดนจำกัดที่ 15,000 บาทเหมือนเดิม)
2. เงินบำเหน็จที่จ่ายให้คั้งเดียว เรียกว่า เงินบำเหน็จชราภาพ
– จ่ายเงินสมทบไม่เกิน 180 เดือน และไม่เกิน 12 เดือน จะได้เป็นบำเหน็จจำนวนที่ตัวเองจ่ายเท่านั้น เช่น จ่ายเงินสมทบของตัวเอง 450 บาทต่อเดือน เป็นเวลา 11 เดือน
– จ่ายเงินสมทบไม่เกิน 180 เดือน และเกิน 12 เดือน จะได้ เงินสมทบตัวเอง นายจ้าง และรัฐบาล + ผลประโยชน์หมายถึงกำไรจากที่ประกันสังคมเอาเงินไปลงทุน ซึ่งอาจจะอยู่ราว 3-6% โดยที่ในปี
การเบิกเงินคืนจากประกันสังคมนั้นสามารถทำได้ โดยจะสามารถเบิกคืนได้ ในรูปแบบของเงินชราภาพบำเหน็จ หรือบำนาญ ซึ่งเงินสมทบทั้ง2ประเภทก็จะมีเงื่อนไขในการรับที่แตกต่างกัน
การเบิกเงินจากสำนักงานปรักันสังคมนั้น สามารถดำเนินการได้ด้วยตัวเอง หรือในบางกรณีที่มีทายาทขอรับสิทธิแทนนั้นก็จะใช้เอกสารประกอบแตกต่างกันดังนี้