กฎของโอห์ม

กฎของโอห์ม กล่าวว่าโอห์มคือสูตรไฟฟ้าทำได้อย่างเจ๋งครบ 7 กฎ?

กฎของโอห์ม

กฎของโอห์ม ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้ากับความต้านทาน กล่าวคือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนำใด ๆ แปรผันโดยตรงกับความต่างศักย์ (แรงดันไฟฟ้าหรือแรงดันตกคร่อม คือกระแสมีค่ามากหรือน้อยตามความต่างศักย์นั้น) เขียนเป็นสมการได้ว่า (กฎของโอห์ม สูตร)

I ∝ V

กฎของโอห์ม

และกระแสไฟฟ้าจะแปรผกผันกับความต้านทานระหว่างสองจุดนั้น(คือถ้าความต้านทานมากจะทำให้กระแสไหลผ่านน้อย, ถ้าความต้านทานน้อยจะทำให้มีกระแสมาก) เขียนเป็นสมการได้ว่า

I ∝ 1 / R

นำสูตรสมการทางคณิตศาสตร์ทั้งสองมารวมกัน, เขียนได้ดังนี้:

I = V R

โดยที่ V คือความต่างศักย์ มีหน่วยเป็น โวลต์, I คือกระแสในวงจร หน่วยเป็น แอมแปร์ และ R คือความต้านทานในวงจร หน่วยเป็น โอห์ม

กฎดังกล่าวตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่เกออร์ค ซีม็อน โอห์ม นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ผู้ที่ตีพิมพ์ผลงานใน ค.ศ. 1827 บรรยายการทดลองวัดค่าแรงดันและกระแสผ่านลวดความยาวต่าง ๆ กัน และอธิบายผลด้วยสมการ (ซึ่งซับซ้อนกว่าสมการบนเล็กน้อย)

ohm'slaw

กฎของโอห์ม pdf กฎของโอหม ohms law

กฎของโอห์มกล่าวไว้ว่าอย่างไร

กฎของโอห์ม กล่าวว่า “ถ้าอุณหภูมิคงที่แล้ว อัตราส่วนระหว่างความ ต่างศักย์ของปลายทั้งสองของตัวนำ และกระแสไฟฟ้าที่ไหลในตัวนำนั้นย่อมมีค่าคงที่” เขียนเป็นความสัมพันธ์ได้ว่า V = IR เมื่อ V แทนความต่างศักย์ (โวลต์), I แทนกระแสไฟฟ้า (แอมแปร์), R แทนความต้านทาน (โอห์ม)

กฎของโอห์ม E คืออะไร

E = แรงดันไฟฟ้ามีหน่วยเป็นโวลต์

กฎของโอห์มรูปใด

I = E/R เมื่อ I = กระแสไฟฟ้ามีหน่วยเป็น แอมป์แปร์ (A) E = แรงดันไฟฟ้ามีหน่วยเป็นโวลต์ (V) R = ความต้านทานมีหน่วยเป็น โอห์ม

อ่านบทความทั้งหมด >>> pangpond.com

บทความแนะนำ หมวดหมู่: วัยรุ่น
จำนวนคอมเมนต์ของโพสต์ ID 192170: 504